Page 140 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 140

่
                               ดังนั้น แม้บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการปาไม้ จะมิได้เอื้ออํานวยต่อการใช้สิทธิของ
                       ชุมชนอย่างเพียงพอและยั่งยืนและทําให้รัฐมีทัศนคติที่ไม่ถือเป็น “หน้าที่ตามกฎหมาย” ที่ต้องรับรอง
                       และคุ้มครองสิทธิชุมชนอย่างเคร่งครัดและเท่าเทียมกับหน้าที่ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติใน

                       ฐานะสมบัติของรัฐ แต่หากพิจารณาตามบทบัญญัติมาตรา 27 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                       พ.ศ.2550 ก็ถือได้ว่า รัฐธรรมนูญได้กําหนดให้เจ้าหน้าที่รัฐต้องถือเป็นหน้าที่โดยทันทีนับตั้งแต่
                       รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ในการรับรองและคุ้มครองสิทธิชุมชนทั้งใน

                       การใช้และการตีความกฎหมาย และเจ้าหน้าที่รัฐก็มิอาจปฏิเสธหน้าที่ในการรับรองและคุ้มครองสิทธิ
                       ชุมชนได้ เพราะหน้าที่ดังกล่าวนั้นได้ถูกกําหนดไว้อย่างชัดแจ้งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                       พ.ศ.2550 อันเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐ


                       5.6 สรุปและข้อเสนอแนะ

                                  ้
                                                                            ่
                              เพื่อปองกันหรือลดการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินปาไม้ จึงมีข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง
                                                              ่
                       แก้ไขนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ดินปาไม้ดังนี้
                              นโยบายป่าไม้แห่งชาติ
                                                     ่
                              สาระสําคัญของนโยบายปาไม้แห่งชาติ ซึ่งกําหนดไว้ 20 ข้อ มีประเด็นการละเมิดสิทธิ
                                                                ่
                       เสรีภาพของประชาชน เกี่ยวกับการกําหนดพื้นที่ปาในข้อ 4  การกําหนดพื้นที่ความลาดชันโดยเฉลี่ย
                                                   ่
                       35 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไปไว้เป็นพื้นที่ปาไม้ในข้อ 17
                                                        ่
                              ประเด็นการกําหนดให้มีพื้นที่ปาไม้อย่างน้อยร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพื่อประโยชน์ 2
                                                               ่
                                                                                                ั
                                   ่
                       ประการ คือ ปาเพื่อการอนุรักษ์ร้อยละ 15 และปาเพื่อเศรษฐกิจร้อยละ 25 ประเด็นนี้มีปญหาเพราะ
                                                            ้
                                           ่ ั
                       เจ้าหน้าที่มักอ้างพื้นที่ปาปจจุบันยังไม่ครบเปาหมายจึงประกาศเขตปาเพิ่มขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งใน
                                                                                  ั
                                               ่
                                                                                                     ่
                       จํานวนนั้นไม่ได้มีสภาพเป็นปาแล้ว และในทางปฏิบัติกลับตรงกันข้าม ปจจุบันรัฐประกาศพื้นที่ปาเพื่อ
                       การอนุรักษ์เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 25  ทั้ง ๆ ที่พื้นที่ราวครึ่งหนึ่งของพื้นที่ประกาศเป็นพื้นที่ที่ชุมชนใช้
                                                                        ่
                       ประโยชน์ทั้งเป็นที่อยู่อาศัย ที่ทํากิน ที่สาธารณะ และที่ปาใช้สอยของชุมชน จึงควรทบทวนการ
                                           ่
                                   ้
                       กําหนดพื้นที่เปาหมายปาไม้ของชาติเสียใหม่ให้สอดคล้องกับบริบททางสังคม โดยกระบวนการที่มี
                                                                            ่
                       ชุมชนเป็นฐาน สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการกําหนดเขตปาประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน
                                                                                              ่
                       ตําบล ขึ้นมาถึงจังหวัดและกลุ่มพื้นที่ตามสภาพภูมินิเวศ แนวทางนี้อาจจะทําให้พื้นที่ปาของประเทศ
                                                                                ่
                            ้
                       เกินเปาหมายร้อยละ 40 ก็ได้ แต่ที่สําคัญคือจะทําให้การกําหนดเขตปาในแต่ละท้องถิ่นสอดคล้องกับ
                       สภาพภูมินิเวศและระบบสังคมและเศรษฐกิจในท้องถิ่นนั้น ๆ
                                                                                                ่
                              ประเด็นการกําหนดพื้นที่ลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไปไว้เป็นพื้นที่ปาไม้ โดยไม่
                                                                    ่
                       อนุญาตให้มีการออกโฉนด หรือ น.ส.3  ตามนโยบายปาไม้ข้อ 17  เห็นว่าไม่สอดคล้องกับบริบททาง
                       สังคม โดยเฉพาะในบางพื้นที่เช่นจังหวัดเชียงใหม่ น่าน แม่ฮ่องสอน หรือในพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งภูมิ
                       ประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีชุมชนอาศัยทํากินอยู่มานาน มีระบบการใช้ที่ดินที่ยั่งยืนและสอดคล้องกับ
                                                                    ่
                       ระบบนิเวศเช่นระบบไร่หมุนเวียนในภาคเหนือ ระบบปายาง สวนสมรม และสวนดุซงในภาคใต้ ระบบ
                       เกษตรผสมผสานกับการเลี้ยงสัตว์ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในทางปฏิบัติจึงไม่
                                                                              ่
                       สามารถกําหนดพื้นที่ลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์เป็นพื้นที่ปาได้ทุกพื้นที่แบบเหมารวม ต้อง

                                                                                                      5‐68
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145