Page 113 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 113
่
(1) ให้กรมปาไม้ และ ส.ป.ก. ปฏิบัติตามข้อตกลงว่าด้วยแนวทางปฏิบัติในการกัน
่
่
พื้นที่ปาสงวนแห่งชาติกลับคืนกรมปาไม้ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2538 โดย เร่งรัดดําเนินการให้แล้ว
่
เสร็จทุกปาโดยเร็ว
่
(2) พื้นที่ที่ไม่สมควรนําไปปฏิรูปที่ดิน ให้กรมปาไม้ดําเนินการตามหน้าที่และความ
่
รับผิดชอบ และเพื่อเปิดโอกาสให้ราษฎรในพื้นที่มีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรปาไม้อย่างเป็น
่
่
รูปธรรม ให้กรมปาไม้พิจารณาตามความเหมาะสมจัดการพื้นที่ที่มีสภาพปาแปลงเล็กแปลงน้อยใน
พื้นที่ราบและมิใช่เป็นพื้นที่ที่ควรสงวนรักษาไว้เพื่อคุ้มครองระบบนิเวศ และสภาพแปลงดังกล่าว
่
จะต้องไม่คิดกับปาผืนใหญ่ โดยร่วมกับองค์การบริหารส่วนตําบลท้องที่ และ ส.ป.ก. กรณีนี้ให้พิจารณา
จัดทําเป็นพื้นที่ทดลองจัดการเป็นบางแห่งก่อน
(3) ให้ ส.ป.ก. นําผลการปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงไปเร่งรัดกําหนดเขตปฏิรูปที่ดิน
เมื่อมีเขตปฏิรูปที่ดินแล้วให้ ส.ป.ก. เร่งรัดดําเนินการต่อไป และให้กําหนดเป็นเงื่อนไขการใช้ที่ดิน ส.
ป.ก. ให้ราษฎรปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้นอย่างน้อยร้อยละ 20 ของเนื้อที่ที่ได้รับ กรณีเป็นที่ดินที่ติดกับ
่
เขตปาไม้จะต้องปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้นเป็นแนวกันชน และให้นําเอาวิธีการจัดรูปแปลงที่ดินให้มี
่
ั
ขนาดเหมาะสม เพื่อใช้แก้ไขปญหาเรื่องที่ดินอยู่อาศัย/ทํากินของราษฎรในเขตปาไม้ด้วย
1.2) พื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม ตามผลการจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและ
่
่
ที่ดินปาไม้ในพื้นที่ปาสงวนแห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 ซึ่ง
่
กําหนดไว้ว่า เมื่อดําเนินการในพื้นที่ให้กรมปาไม้ปรับแนวเขตได้ตามสภาพข้อเท็จจริงและความ
เหมาะสมในภูมิประเทศ ผลจากการปรับแนวเขตให้ดําเนินการ ดังนี้
่
(1) บริเวณพื้นที่ที่ปรับออกเป็นพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ หากมีราษฎรอยู่อาศัย/ทํากิน
่
ให้กรมปาไม้พิจารณาดําเนินการตามความเหมาะสม
่
(2) พื้นที่ที่ผ่านการตรวจสอบและมีความเหมาะสมที่จะกําหนดไว้เป็นปาเพื่อการ
่
่
อนุรักษ์ ให้กรมปาไม้กําหนดเป็นปาอนุรักษ์ตามกฎหมาย ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้ ให้
่
้
กรมปาไม้จัดทําแนวเขตที่ชัดเจน และปองกันดูแลคุ้มครองอย่างเข้มงวด ไม่ให้ราษฎรบุกรุกเข้าไป
ยึดถือครอบครองอยู่อาศัยทํากิน หากมีการบุกรุกเข้าไปยึดถือครอบครองให้ดําเนินการตามกฎหมาย
อย่างเฉียบขาด
่
1.3) ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย เช่น อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา เขตห้ามล่า
่
่
่
สัตว์ปา และปาอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี (พื้นที่ลุ่มนํ้าชั้นที่ 1, ชั้นที่ 2 และเขตอนุรักษ์ปาชายเลน)
่
เนื่องจากเขตพื้นที่ปาอนุรักษ์ได้กําหนดขึ้น เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดิน นํ้า พันธุ์พืช และ
้
พันธุ์สัตว์ที่มีคุณค่า หายาก เพื่อการปองกันภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัยและการพังทลายของดิน รวม
ตลอดถึงเพื่อประโยชน์ด้านการศึกษา วิจัย นันทนาการของประชาชนและความมั่นคงของชาติ จึงมี
แนวทางดังนี้
่
่
1) ยืนยันนโยบายของรัฐที่จะไม่นําพื้นที่ปาอนุรักษ์ตามกฎหมาย และปาอนุรักษ์ตาม
มติคณะรัฐมนตรีไปดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
่
2) ให้กรมปาไม้สํารวจพื้นที่ที่มีการครอบครองให้ชัดเจนและขึ้นทะเบียนผู้ครอบครอง
เพื่อนํามาใช้เป็นข้อมูลในการจัดการเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
5‐41