Page 111 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 111
่
1) พื้นที่พัฒนาปาธรรมชาติ
่
่
่
พื้นที่พัฒนาปาธรรมชาติ หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแห่งชาติที่มีสภาพปาไม้สมบูรณ์และมี
่
ศักยภาพเหมาะสมในการจัดการปาไม้ตามหลักวิชาการ เพื่อให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์จากไม้และของ
่
่
ปาร่วมกันโดยไม่บุกรุกเข้าไปใช้ประโยชน์ในเขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ์ต่อไป พื้นที่ลักษณะนี้ได้แก่
่
ก. พื้นที่ปาโครงการทําไม้ต่าง ๆ
่
ข. พื้นที่ปาชุมชน
่
2) พื้นที่พัฒนาทรัพยากรปาไม้
่
่
พื้นที่พัฒนาทรัพยากรปาไม้ หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแห่งชาติที่เสื่อมโทรม ซึ่งมีศักยภาพสูงใน
่
การฟื้นฟูสภาพปา สามารถส่งเสริมบทบาทและหน้าที่ของส่วนราชการและเอกชน ให้มีส่วนรับผิดชอบ
่
ในการจัดการและพัฒนาทรัพยากรปาไม้ร่วมกัน เพื่ออํานวยประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมให้มีไม้
ใช้ประเทศและเพื่อประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่อง โดยนําทุกส่วนของไม้มาใช้ประโยชน์
ให้บรรลุผลต่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมของชาติ พื้นที่ลักษณะนี้ได้แก่
่
ก. พื้นที่ปลูกปาภาครัฐบาล
่
ข. พื้นที่ปลูกปาภาคเอกชน
่
ค. พื้นที่ปลูกปาเพื่อใช้สอยในครัวเรือน
3) พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตร์ชุมชน
่
พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตร์ชุมชน หมายถึง พื้นที่ปาสงวน แห่งชาติที่กําหนดไว้เพื่อแก้ไข
ั
่
ปญหาการบุกรุกทําลายปาในรูปแบบต่าง ๆ โดยการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการตั้งถิ่น
ฐานให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การใช้
ประโยชน์พื้นที่กระทําในลักษณะของวนเกษตร พื้นที่ลักษณะนี้ได้แก่
ก. พื้นที่โครงการตามพระราชดําริ
ข. พื้นที่โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง
่
ค. พื้นที่โครงการหมู่บ้านปาไม้
ง. พื้นที่ ส.ท.ก.
4) พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ
่
พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแห่งชาติที่ได้อนุญาตให้ใช้
่
ประโยชน์ร่วมกันระหว่างทรัพยากรปาไม้และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ เช่น แหล่งนํ้า และทรัพยากร
ธรณี เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พื้นที่ลักษณะนี้ ได้แก่
ก. พื้นที่เขตแหล่งแร่
ข. พื้นที่เขตระเบิดหินและย่อยหิน
ค. พื้นที่อนุญาตให้ส่วนราชการ และเอกชนใช้ประโยชน์ใน กิจกรรมต่าง ๆ
การเพิกถอนที่ดินป่าไม้ที่หมดสภาพให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์
่
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2536 ได้กําหนดวิธีการเพิกถอนที่ดินปาไม้ที่หมด
สภาพให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์โดยวิธีการ
5‐39