Page 108 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 108
2. การสํารวจพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นดําเนินการดังนี้
2.1 ในกรณีพื้นที่ที่ขออนุญาตมีเนื้อที่มากกว่า 500 ไร่ ควรมีการตรวจสอบโดยภาพถ่าย
ทางอากาศ หรือภาพถ่ายดาวเทียม มาตราส่วนที่เหมาะสมซึ่งสามารถตรวจสอบได้ที่ถ่ายใหม่ที่สุด
่
่
เพื่อประเมินดูสภาพปาโดยทั่วไป หากมีพื้นที่ปาที่สมบูรณ์ให้กันออก โดยมีเหตุผลที่ขอแก้ไข ดังนี้
1) พื้นที่ที่ขออนุญาตที่มีขนาดเนื้อที่เพียง 5 ไร่ 10 ไร่ หรือ 100 ไร่ ซึ่งปรากฏใน
แผนที่ระวางมาตราส่วน 1 : 50,000 เพียงจุดเดียวย่อมไม่เกิดผลในทางปฏิบัติ เมื่อนํามาตรวจสอบกับ
ภาพถ่ายทางอากาศ ทําให้เสียเวลาและงบประมาณไปโดยเปล่าประโยชน์และพื้นที่ที่มีเนื้อที่น้อยกว่า
่
หรือเท่ากับ 500 ไร่ เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบสภาพปาสามารถทําการสํารวจนับไม้ โดยวางแปลงตัวอย่าง
ได้โดยสะดวก ไม่เสียเวลาและงบประมาณค่าใช้จ่ายมากนัก และถ้าทําการสํารวจนับไม้ 100% ก็จะได้
่
ข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด และเป็นข้อมูลที่ละเอียดที่สุดแล้ว จึงไม่จําเป็นต้องทําการประเมินสภาพปา
โดยตรวจสอบกับภาพถ่ายทางอากาศอีก ไม่ว่ากรณีใดๆ
่
2) การประเมินดูสภาพปาโดยทั่ว ไป สามารถกระทําได้โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศ
และทางภาพถ่ายดาวเทียม เนื่องจากมีหลายหน่วยงานที่ถ่ายภาพทางอากาศ รวมทั้งภาพถ่าย
ดาวเทียมซึ่งสามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้ นอกจากนี้ สมควรให้ใช้ได้หลายมาตราส่วนตามความ
เหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่และสภาพภูมิประเทศที่จะทําการตรวจสอบ
2.2 ให้สํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอย่างแบบ Line Plot ให้กระจายทั่วพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อย
่
ละ 5 ของพื้นที่ เพื่อหาปริมาณของไม้ขนาดต่างๆ ในการประเมินไม่ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาผืนใหญ่
่
เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาในแต่ละแปลงที่สํารวจ โดยมีเหตุผลที่ขอ
แก้ไข ดังนี้
1. การกันพื้นที่ขนาด 1 ไร่ ในพื้นที่ที่ขออนุญาตเป็นพัน หรือเป็นหมื่นไร่ ย่อมเป็น
ั
ปญหาในทางปฏิบัติมาก เนื่องจากทําให้เสียเวลาและงบประมาณค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน
่
2. จากการประเมินสภาพปาโดยทั่ว ไปจากภาพถ่ายทางอากาศ หรือดาวเทียม
่
ก่อนที่จะออกไปทําการสํารวจนับไม้ในพื้นที่ หากพบว่าพื้นที่ที่ขออนุญาตบางส่วนมีสภาพปาที่สมบูรณ์
ก็สามารถกันออกได้อยู่แล้ว
่
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติจึงเห็นควรนําเสนอ
คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ดังนี้
1. ขอทบทวนแก้ไขมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2529 และวันที่2 มิถุนายน 2530
่
เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมตามประเด็นดังกล่าวแล้วข้างต้น
่
2. เนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกําหนดปาเสื่อมโทรมทั้งที่
่
กําหนดไว้เดิมและที่ขอแก้ไขยังคงห้ามมิให้กําหนดพื้นที่ต้นนํ้าลําธารชั้นที่ 2 เป็นปาเสื่อมโทรม ซึ่งเป็น
ผลให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไม่สามารถที่จะพิจารณาอนุญาตให้ภาคเอกชนทําการปลูกสร้างสวน
่
่
่
ปาหรือไม้ยืนต้นในพื้นที่ปาต้นนํ้าลําธารชั้นที่ 2 ได้ ทําให้การฟื้นฟูสภาพปาต้นนํ้าลําธารชั้นที่ 2 ไม่
สามารถจะดําเนินการได้ทันกับเหตุการณ์เนื่องจากขาดงบประมาณ ดังนั้นจึงเห็นสมควรให้สํานัก
่
่
่
งบประมาณเพิ่มการสนับสนุนงบประมาณปลูกปาให้กรมปาไม้เพื่อทําการปลูกปาในพื้นที่ต้นนําลําธาร
ชั้นที่ 2 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2534 เป็นต้นไป
5‐36