Page 118 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 118

พื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินแยกเป็นพื้นที่เกษตรกรรม, พื้นที่พาณิชยกรรม,  พื้นที่อุตสาหกรรม และ
                       พื้นที่อยู่อาศัย นอกจากนี้ให้จัดทําข้อมูลที่ดิน ดําเนินการโดยจัดทําฐานข้อมูลที่ดินของรัฐและเอกชนทั่ว
                       ประเทศ และการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการที่ดินระดับจังหวัด

                              ในการติดตามผลความคืบหน้าในการดําเนินงานของคณะกรรมการบูรณาการฯ ในวันพุธที่
                       29 สิงหาคม 2555 ดังกล่าว นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้ ก.บ.ช. ดําเนินการปรับปรุงและเพิ่มเติม
                       รายละเอียด ดังนี้
                                           ั
                              1) เรื่องแก้ไขปญหาการบุกรุกหรือที่ดินทับซ้อน ระหว่างราษฎรกับหน่วยงานของรัฐ แก้ไข
                        ั
                       ปญหาการรุกลํ้าแม่นํ้า ลําคลอง แหล่งนํ้าสาธารณะ และที่ดินหวงห้ามของรัฐการสํารวจการถือครอง
                       ที่ดินของรัฐโดยมิชอบ
                                                   ั
                              2) การบูรณาการข้อมูลปญหาที่ดินจากหน่วยงานของรัฐเพื่อนําไปแก้ไขระดับจังหวัด เช่น
                       ข้อมูลผู้บุกรุกหรือข้อมูลผู้ไม่มีที่อยู่อาศัย
                              3) ในส่วนกลางให้มีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรองรับผลการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการระดับ

                       จังหวัด
                              4) ให้จัดทํา Master Plan เพื่อกําหนดภารกิจและกรอบระยะเวลาในการดําเนินงาน และจัดทํา
                       Action Plan ในแต่ละภารกิจให้ชัดเจน
                                                                                              ั
                              5) ให้นําวิธีการของการเคหะแห่งชาติมาเป็นเครื่องมือวิธีการหนึ่งในการแก้ไขปญหาด้านที่อยู่
                       อาศัยของราษฎรที่อยู่มาก่อน ราษฎรผู้บุกรุกที่ดินโดยผิดกฎหมาย ราษฎรผู้รุกลํ้าแม่นํ้า ลําคลอง
                       แหล่งนํ้าสาธารณะ และที่ดินหวงห้ามของรัฐ โดยให้ความช่วยเหลือราษฎรเหล่านี้ควบคู่ไปกับการ

                       บริหารจัดการที่ดิน
                                                               ั
                              6) ให้สํานักนายกรัฐมนตรีรวบรวมปญหาข้อร้องเรียนของราษฎรเกี่ยวกับที่ดินส่งให้
                       คณะกรรมการบูรณาการการบริหารจัดการที่ดินเชิงระบบ นํามาจัดแยกประเภทหมวดหมู่ให้ชัดเจน
                                                                   ั
                       เพื่อส่งให้ศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัดพิจารณาแก้ไขปญหา
                              7) แนวทางการบริหารจัดการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องค์การมหาชน)
                       นายกรัฐมนตรีมีความเห็นว่า การใช้ชื่อธนาคารที่ดินเพื่อเป็นกลไกในการบริหารจัดการที่ดิน อาจทําให้

                                                                 ั
                       ประชาชนเกิดความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปญหาในทางปฏิบัติได้ น่าจะพิจารณาทบทวนถึง
                       ความเหมาะสมอีกครั้งหนึ่ง ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบูรณาการฯ นําเรื่องแนวทางการบริหาร
                       จัดการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องค์การมหาชน) กลับไปพิจารณาทบทวน

                              2) แนวทางการบริหารจัดการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องค์การมหาชน)
                              นายกรัฐมนตรีมีความเห็นว่า  การใช้ชื่อธนาคารที่ดินเพื่อเป็นกลไกในการบริหารจัดการที่ดิน
                                                                          ั
                       อาจทําให้ประชาชนเกิดความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง  ก่อให้เกิดปญหาในทางปฏิบัติได้  น่าจะพิจารณา
                       ทบทวนถึงความเหมาะสมอีกครั้งหนึ่ง  ที่ประชุมได้มอบหมายให้คณะกรรมการบูรณาการฯ  นําเรื่อง
                       แนวทางการบริหารจัดการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องค์การมหาชน)  กลับไปพิจารณา
                       ทบทวน ต่อมา เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2555 คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาและมีมติ ดังนี้

                              (1) รับทราบผลการประชุมคณะกรรมการบูรณาการการบริหารจัดการที่ดินเชิงระบบ ครั้งที่
                       1/2555 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ตามที่คณะกรรมการบูรณาการฯ เสนอ



                                                                                                      5‐46
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123