Page 107 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 107
กระจายอยู่ทั่ว พื้นที่ไม่เกินไร่ละ 8 ต้น หรือมีไม้ขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตร ขึ้นไป ขึ้นกระจาย
่
อยู่ทั่ว พื้นที่ไม่เกินไร่ละ 2 ต้น หรือพื้นที่ปาไม้ที่มีเข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ลักษณะดังกล่าว เมื่อรวมกัน
แล้วต้องมีจํานวนไม่เกินไร่ละ 16 ต้น
2. การสํารวจพื้นที่ดังกล่าวข้างต้น ให้ดําเนินการดังนี้
2.1 ควรมีการตรวจสอบโดยภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1: 15,000 ที่ถ่ายใหม่ที่สุด
่
่
เพื่อประเมินดูสภาพปาโดยทั่ว ไปหากมีพื้นที่ปาที่สมบูรณ์ให้กันออก
2.2 ให้สํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอย่างแบบ Line Plot ให้กระจายทั่ว พื้นที่ไม่น้อยกว่า
่
ร้อยละห้า เพื่อหาปริมาตรของไม้ต่างๆ ในการประเมิน ไม่ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาผืนใหญ่ เพื่อให้
่
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาในแต่ละแปลงที่สํารวจ ถ้าพื้นที่แปลงใดมีค่าเฉลี่ยเกิน
เกณฑ์ที่กําหนด ตั้งแต่ 1 ไร่ขึ้นไป ให้กันไว้เพื่อให้ไม้เหล่านั้นเจริญเติบโตได้ตามธรรมชาติ
่
3 ในกรณีที่ปาไม้อยู่ในพื้นที่ต้นนํ้าลําธารชั้นที่ 1 เอ และ 1 บี และชั้นที่ 2 แม้จะมีต้นไม้น้อย
่
เพียงใดก็ตาม ก็มิให้กําหนดเป็นปาเสื่อมโทรม
่
คณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ 2/2532 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2532
่
ได้พิจารณาข้อเสนอของกรมปาไม้ที่ขอให้ทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขใน
่
่
การกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมข้างต้นแล้ว มีมติเห็นชอบตามข้อเสนอของกรมปาไม้ และให้นําเสนอ
่
่
คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไปโดยให้รัฐเพิ่มการสนับสนุนงบประมาณด้านการปลูกปาในพื้นที่ปาต้นนํ้า
่
ลําธารชั้นที่ 1 และ 2 ให้กรมปาไม้มากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ในเรื่องที่จะขอให้รัฐมนตรีพิจารณา
่
ทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมครั้งนี้ มุ่ง
ั
ที่จะแก้ไขปญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นจากหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2
่
กันยายน 2529 และเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2530 อันจะมีผลให้กรมปาไม้สามารถอนุญาตให้เอกชนใช้
่
่
่
พื้นที่ปาไม้เพื่อการปลูกปาได้รวดเร็วขึ้น จึงขอแก้ไขหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปา
เสื่อมโทรมจากที่กําหนดไว้เดิมเป็นดังนี้
่
่
1. เป็นปาไม้ที่มีค่าที่มีลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อย และปานั้นยากที่จะกลับฟื้นคืนดี
ได้ตามธรรมชาติ โดยมีไม้ขนาดความโตวัดโดยรอบลําต้นที่สูง 13 เซนติเมตร ตั้งแต่ 50-100
เซนติเมตร ขึ้นกระจายอยู่ทั่ว พื้นที่ไม่เกินไร่ละ 8 ต้น หรือมีไม้ขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตร ขึ้น
ไป ขึ้นกระจายอยู่ทั่ว พื้นที่ไม่เกินไร่ละ 2 ต้น โดยมีเหตุผลที่ขอแก้ไข ดังนี้
ั
1) ประเด็นที่เกี่ยวกับจํานวนลูกไม้มีค่าที่มีขนาดความสูงเกิน 2 เมตร เป็นปญหาในทาง
ั
่
ปฏิบัติทําให้เจ้าหน้าที่ตรวจสภาพปาไม่กล้าตัดสินใจ เพราะเกรงจะเกิดปญหาเนื่องจากในขณะ
ตรวจสอบลูกไม้เหล่านั้นยังสูงไม่ถึง 2 เมตร แต่กว่าที่จะได้รับอนุญาตลูกไม้อาจจะเจริญเติบโตขึ้นตาม
ธรรมชาติ จนมีความสูงเกิน 2 เมตร เมื่อมีการตรวจสอบหรือการร้องเรียนเกิดขึ้น อาจเป็นผลให้ถูก
ลงโทษฐานปฏิบัติงานบกพร่องได้
2) จํานวนลูกไม้มีค่าที่มีขนาดความสูงเกิน 2 เมตร ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาตินั้น อาจมี
่
ลักษณะแคระแกร็นหรืออาจจะถูกบุกรุกแผ้วถางทําลาย และหากมีการปลูกสร้างสวนปาขึ้นจะทําให้
่
เกิดพื้นที่ปาที่มีค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีประโยชน์มากกว่าเดิมและการกําหนดจํานวนลูกไม้ไว้ จะทําให้
ั
่
เกิดปญหาในการตรวจสอบสภาพปา
5‐35