Page 105 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 105
่
พิจารณาหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เสนอ และข้อพิจารณาของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายเฉลียว วัชรพุกก์) มติ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2529 แล้ว มีความเห็นดังนี้
่
1. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
่
เสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณานั้น กําหนดขึ้นอยู่กับภายใต้กรอบนโยบายปาไม้แห่งชาติของรัฐบาล ใน
่
้
่
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่ปาไม้ไปสู่เปาหมายที่กําหนดไว้ การส่งเสริมการปลูกปา
่
ภาคเอกชนและการประสานงานการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างปาไม้และทรัพยากรธรรมชาติอื่น
่
2. เห็นควรเพิ่มเติมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม ดังนี้
ในส่วนของวิธีการประเมินเห็นควรเพิ่มเติม ดังนี้
(1) ควรมีการตรวจสอบโดยภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1:15,000 ที่ถ่ายใหม่ที่สุด
่
เพื่อประเมินดูสภาพปาโดยทั่ว ไป
่
(2) ควรกันพื้นที่ปาสมบูรณ์ออกจากแปลงใหญ่ โดยจําแนกจากภาพถ่ายทางอากาศ
(3) สุ่มสํารวจโดยวิธีการสํารวจแบบ Line Plot ให้กระจายทั่วพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
ของพื้นที่ เพื่อหาปริมาณของไม้ขนาดต่างๆ
่
(4) ไม่ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาผืนใหญ่ในการประเมิน เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
่
ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาในแต่ละแปลงที่สํารวจ
ในส่วนของหลักเกณฑ์ให้เพิ่มคือ
่
(5) ในกรณีที่ปาเสื่อมโทรมนั้นอยู่ในพื้นที่ต้นนํ้าลําธาร แม้จะมีต้นไม้น้อยเพียงใดก็ตาม
ก็ไม่ควรที่จะอนุญาตให้ประชาชนเข้าทํามาหากินในพื้นที่นั้น แต่ควรที่จะเร่ง
่
ดําเนินการปลูกปาในพื้นที่ดังกล่าว
วันที่ 2 กันยายน 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ
่
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม โดยเพิ่มเติมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในส่วน
่
ของวิธีการประเมินตามความเห็นของคณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติ สําหรับในส่วนของ
่
หลักเกณฑ์ที่ให้เพิ่มเติมนั้น ให้แก้ไขเป็น "ข้อ 5 ในกรณีที่ปานั้นอยู่ในพื้นที่ต้นนํ้าลําธาร แม้จะมี
่
ต้นไม้น้อยเพียงใดก็ตามก็มิให้กําหนดเป็นปาเสื่อมโทรม
วันที่ 9 ธันวาคม 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนด
่
สภาพปาเสื่อมโทรม โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน รับ
เรื่องนี้ไปเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพิจารณาเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง โดยให้รับ
่
ข้อสังเกตของคณะรัฐมนตรีไปพิจารณาด้วยว่า พื้นที่ปาต้นนํ้าลําธารตามหลักเกณฑ์ข้อ (5) ของมติ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2529 ควรให้หมายความถึง พื้นที่ลุ่มนํ้าทั้งชั้นที่ 1 A และ 1 B และ
่
ชั้นที่ 2 ด้วยหรือไม่ และโดยที่การกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมตามกฎหมายฉบับที่แก้ไขใหม่ มี
วัตถุประสงค์เพื่อจัดสรรให้ราษฎรทํากิน ซึ่งแตกต่างจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
่
ในเรื่องนี้ จึงควรพิจารณาด้วยว่า โดยผลของกฎหมายดังกล่าว ถ้ากําหนดพื้นที่ใดเป็นปาเสื่อมโทรมก็
จะมีผลผูกพันให้ต้องจัดสรรให้ราษฎรทํากินตลอดไปหรือไม่
5‐33