Page 104 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 104
่
่
“มาตรา 16 ทวิ ในกรณีที่ปาสงวนแห่งชาติทั้งหมดหรือบางส่วนมีสภาพเป็นปาไร่ร้างเก่าหรือ
่
ทุ่งหญ้าหรือเป็นปาที่ไม่มีไม้มีค่าขึ้นอยู่เลย หรือมีไม้มีค่าที่มีลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อยและ
่
ปานั้นยากที่จะกลับฟื้นคืนดีตามธรรมชาติ ทั้งนี้ โดยมีสภาพตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี
่
่
กําหนดโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีให้ถือว่าปาสงวนแห่งชาติในบริเวณดังกล่าวเป็นปาเสื่อมโทรม ถ้าทาง
่
่
ราชการมีความจําเป็นต้องปรับปรุงฟื้นฟูสภาพปาเสื่อมโทรมให้รัฐมนตรีประกาศกําหนดเขตปาเสื่อม
่
โทรมทั้งหมด หรือบางส่วนเป็นเขตปรับปรุงปาสงวนแห่งชาติ”
่
่
“มาตรา 20 ในกรณีปาสงวนแห่งชาติแห่งใดมีสภาพเป็นปาเสื่อมโทรมตามมาตรา 16 ทวิ ให้
่
อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอํานาจอนุญาตเป็นหนังสือให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดทําการบํารุงปาหรือปลูก
่
่
สร้างสวนปาหรือไม้ยืนต้นในเขตปาเสื่อมโทรมได้ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่กําหนดในหนังสือ
อนุญาตแต่ในกรณีที่จะอนุญาตให้เกิน 2,000 ไร่ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี”
่
ดังนั้นพื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่จะดําเนินการตามนัยดังกล่าวได้ ต้องมีสภาพตามหลักเกณฑ์และ
่
เงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนดโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี ซึ่งกรมปาไม้ได้พิจารณากําหนดหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขขึ้นเพื่อนําเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา ดังนี้ คือ
่
่
1. เป็นปาที่มีไม้มีค่าที่มีลักษณะสมบูรณ์หลงเหลืออยู่เป็นส่วนน้อย และปานั้นยากที่จะกลับ
ฟื้นคืนดีได้ตามธรรมชาติ โดยมีลูกไม้ขนาดความสูงเกิน 2 เมตรขึ้นไป ขึ้นกระจายอยู่ทั่ว พื้นที่ไม่เกิน
ไร่ละ 20 ต้น หรือมีไม้ขนาดความโตวัดโดยรอบลําต้นตรงที่สูง 130 เซนติเมตร ตั้งแต่ 50–100
เซนติเมตร ขึ้นกระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 8 ต้น หรือมีไม้ขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตรขึ้น
่
ไป ขึ้นกระจายอยู่ทั่ว พื้นที่ไม่เกินไร่ละ 2 ต้น หรือพื้นที่ปาที่มีไม้เข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ลักษณะดังกล่าว
เมื่อรวมกันแล้วต้องมีจํานวนไม่เกินไร่ละ 16 ต้น
2. การสํารวจพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นให้สํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอย่างแบบ Line Plot ให้
กระจายทั่ว พื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของพื้นที่ ถ้าพื้นที่แปลงใดมีกลุ่มไม้มีค่าขึ้นอยู่หนาแน่นเกิน
เกณฑ์ที่กําหนดตั้งแต่ 1 ไร่ขึ้นไปให้กันไม้เหล่านั้นเจริญเติบโตได้ตามธรรมชาติ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้ดําเนินการตามความในมาตรา 16 ทวิ และมาตรา 20 แห่ง
่
่
พระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ซึ่งต้องแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปาสงวน
แห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 ถือเป็นหลักปฏิบัติต่อไป และเพื่อมิให้เกิดความล่าช้าอันจะทําให้เกิด
ความเสียหายแก่ทางราชการ จึงเห็นชอบด้วยกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังกล่าว
วันที่ 8 กรกฎาคม 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนด
่
่
สภาพปาเสื่อมโทรม โดยให้ส่งหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังกล่าว ให้คณะกรรมการนโยบายปาไม้
แห่งชาติพิจารณา เสนอคณะรัฐมนตรีในคราวต่อไป โดยให้รับข้อพิจารณาของรัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงมหาดไทย (นายเฉียว วัชรพุกก์) ตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย รัตตกุล) ประธาน
่
คณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติ รับไปพิจารณาในที่ประชุมด้วย
่
วันที่ 17 กรกฎาคม 2529 ประธานคณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติ มีหนังสือ ด่วนที่สุด
ที่ กษ 0709(5)/09378 ลงวันที่ 17 กรกฎาคม 2529 เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาหลักเกณฑ์และ
่
่
เงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม โดยแจ้งว่า คณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติ ได้
5‐32