Page 76 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 76

๖๑


                   union libre) และบุตรของบุคคลเหล่านั้นด้วย รัฐจึงมีหน้าที่กระท่าการ  (l’obligation positive) อย่างใดๆ

                   เพื่อให้ความสัมพันธ์ของบุคคลเหล่านั้นกับบุตรด่ารงอยู่
                                          (๒) กรณีการส่งบุตรผู้เยาว์ไปยังสถานแรกรับ

                                             ในกรณีที่คู่สามีภริยาไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ได้และได้ส่งบุตรผู้เยาว์

                   ของตนไปให้แก่ส่านักงานช่วยเหลือสังคม  (l’assistance  publique)  หรือส่านักงานใช้ดุลพินิจ
                   ด่าเนินการดังกล่าวเอง  ในกรณีเช่นนั้น  ส่านักงานอาจต้องใช้อ่านาจต่างๆ  อันเป็นอ่านาจปกครอง  (les

                   prérogatives de l’autorité parentale) แทนบิดามารดาที่แท้จริง โดยเฉพาะอ่านาจในการดูแลบุตร (la
                   garde de l’enfant) จ่ากัดหรือเพิกถอนสิทธิในการเยี่ยมของบิดามารดา  ตลอดจนส่งบุตรผู้เยาว์ไปยัง

                   สถานแรกรับ(un foyer d’accueil) เพื่อการดูแลต่อไป การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นจะเป็น
                   การชอบด้วยกฎหมายก็ต่อเมื่อพิจารณาถึงประโยชน์ของบุตร (l’intérêt de l’enfant) เป็นส่าคัญ แต่ทั้งนี้

                   การตัดสินใจต่างๆ นั้นจะต้องกระท่าโดยรู้ถึงสถานะของบิดามารดาและสถานะของบุตร  และอาจได้รับ

                   การตรวจสอบควบคุมโดยองค์กรศาล (un contrôle judiciaire)
                                                                                   ๘๐
                                             ในคดี B., H., O., R. et W. c/Royaume-Uni  ศาลแห่งยุโรปด้านสิทธิ
                   มนุษยชนพิจารณาว่าการตัดสินใจเช่นนี้ขององค์กรของรัฐเป็นการกระท่าอันเป็นการแทรกแซงในชีวิต

                   ครอบครัว ซึ่งจะเป็นการกระท่าโดยชอบตามนัยแห่งวรรคสองของข้อ ๘ ก็ต่อเมื่อการตัดสินใจต่างๆ นั้นมี
                   กฎหมายอ้างอิงได้  กระท่าไปเพื่อวัตถุประสงค์ตามที่บัญญัติไว้ซึ่งในที่นี้  คือ  สุขภาพจิตและสุขภาพ

                   ร่างกายของบุตร  และเป็นสิ่งจ่าเป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นั้นในสังคมประชาธิไปไตย  ทั้งนี้  การ

                   ตัดสินใจเช่นนั้นจะต้องกระท่าโดยรู้เห็นถึงสถานะของบิดามารดาและสถานะของบุตรนั้น และองค์กรของ
                   รัฐได้ปรึกษาหารือกับบิดามารดาของบุตรนั้นก่อนที่จะตัดสินใจด่าเนินการใดๆ  การปรึกษาหารือเช่นนั้น

                   เป็นขั้นตอนที่จ่าเป็น (une phase obligatoire) ในกระบวนการตัดสินใจขององค์กรของรัฐเลยทีเดียว
                                             นอกจากนี้ ศาลยังได้อธิบายเพิ่มเติมว่าการตัดสินใจหรือค่าสั่งขององค์กร

                   ของรัฐจะต้องสามารถถูกโต้แย้งหรือตรวจสอบได้โดยกระบวนการยุติธรรม (de recours judiciaires)

                   เพื่อตรวจสอบถึงความชอบธรรมของการตัดสินใจหรือค่าสั่ง  (le  bien-fondé  de  la  décision) ของ
                   องค์กรของรัฐ  ทั้งนี้  การตรวจสอบดังกล่าวจะต้องสามารถกระท่าได้ภายในเวลาอันสมควร  (un délai

                   rasionnable)
                                             ด้วยเหตุนี้  ศาลแห่งยุโรปจึงวินิจฉัยว่ากฎหมายแห่งสหราชอาณาจักร

                   (ที่มีการโต้แย้งในเรื่องร้องเรียนนี้) ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ก่าหนดไว้ในวรรคสองของข้อ ๘ ของอนุสัญญา

                   แห่งยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน  เนื่องจากกฎหมายดังกล่าวอนุญาต
                   ให้องค์กรของรัฐท่าการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ  ได้โดยไม่จ่าต้องปรึกษาหารือบิดามารดาของบุตร

                   ที่เกี่ยวข้องเสียก่อน อีกทั้งไม่สอดคล้องกับความในวรรคหนึ่งของข้อ ๖ ของอนุสัญญาแห่งยุโรป (เกี่ยวกับ




                          ๘๐   Arrêt B., H., O., R. et W. c/Royaume-Uni, Volume n° 120 de la série A des publications de la

                   Cour;  B., R. และ  W. n° 121.
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81