Page 69 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 69
๕๔
คณะกรรมการแห่งยุโรปด้านสิทธิมนุษยชน (la Commission européenne
des droits de l’homme) วินิจฉัยว่าการด่าเนินการดังกล่าวของเจ้าหน้าที่ต่ารวจมิได้เป็นการแทรกแซง
การใช้สิทธิส่วนตัวเกี่ยวกับที่พักอาศัย เนื่องจากยานพาหนะที่จอดอยู่บนทางสาธารณะมิใช่ที่พักอาศัย
การกระท่าดังกล่าวเป็นการแทรกแซงสิทธิในชีวิตส่วนตัวของบุคคล แต่การกระท่าดังกล่าวเป็นไปตาม
เงื่อนไขที่ก่าหนดไว้ในข้อ ๘ วรรคสอง เนื่องจากการตรวจค้นของเจ้าหน้าที่ต่ารวจเป็นการกระท่าตาม
กรอบอ่านาจหน้าที่ของต่ารวจทางคดี (la mission de police judiciaire) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสวน
การกระท่าความผิดทางอาญาและการรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิด ค่าวินิจฉัยดังกล่าวสอดคล้องกับ
ค่าพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของสาธารณรัฐฝรั่งเศส (la Chambre criminelle de la Cour de
๗๒
cassation) ที่เคยพิพากษาไว้ว่ายานพาหนะมิใช่ที่พักอาศัย เว้นแต่จะมีข้อยกเว้นเป็นประการอื่น
(๒) กรณีการตรวจค้นสิ่งของในสถานประกอบการหรือสถานประกอบวิชาชีพ
- การตรวจค้นสิ่งของในสถานประกอบการ (la fouille par la police des
locaux commerciaux)
๗๓
ในคดี Chappell เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๑๙๘๙ บริษัทผลิตภาพยนตร์
(des sociétés cinématographiques) และองค์กรของรัฐแห่งสหราชอาณาจักรซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ
คุ้มครองลิขสิทธิ์ (des organismes créés pour la protection du droit d’auteur) ได้รับค่าสั่งจากศาลสูง
(une High Court) ซึ่งออกตามกรณีค่าร้อง Anton Piller ซึ่งร้องเรียนกรณีมีคนชาติอังกฤษ (un ressortissant
britanique) คนหนี่งกระท่าการละเมิดลิขสิทธิ์ ศาลสูงมีค่าสั่งให้บุคคลนั้นยอมให้ผู้ร้องตรวจค้นสถาน
ประกอบการของบุคคลนั้น ซึ่งบุคคลนั้นใช้เป็นที่พักอาศัยด้วย เพื่อค้นหาและยึดเทปวีดีโอที่ท่าการบันทึก
และเผยแพร่อันเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ การด่าเนินการตามค่าสั่งดังกล่าวได้กระท่าขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับ
ที่ได้รับหมายค้นของต่ารวจ (un mandat de perquisition) เพื่อท่าการยึดภาพยนตร์ลามกอนาจาร (des
films pornographiques) ศาลแห่งยุโรปด้านสิทธิมนุษยชนเห็นว่าการกระท่าดังกล่าวขององค์กรของรัฐ
เป็นการแทรกแซงสิทธิในชีวิตส่วนตัวเกี่ยวกับที่พักอาศัยเพื่อคุ้มครองสิทธิของบุคคลอื่น แม้ว่าการกระท่า
ดังกล่าวจะเป็นที่น่าเสียใจ แต่อย่างไรก็ตาม ศาลเห็นว่าการด่าเนินการดังกล่าวมีกฎหมายบัญญัติรองรับไว้
โดยในกรณีนี้ la Common law ก็ถือว่าเป็นกฎหมายเช่นกัน และเป็นสิ่งจ่าเป็นในสังคมประชาธิปไตย
โดยสภาพและในการด่าเนินการซึ่งได้กระท่าในขณะเดียวกับที่ต่ารวจได้รับหมายค้น การด่าเนินการดังกล่าว
จึงไม่ถือว่าไม่ได้สัดส่วนกับวัตถุประสงค์ที่มุ่งหมายนั้นแต่อย่างใด ดังนั้น การออกค่าสั่งและการด่าเนินการ
ตามค่าสั่งนั้นจึงชอบด้วยกฎหมายอังกฤษ
๗๒ L. HAMON et J. LEAUTE, note sous Conseil constitutionnel, 12 février 1977, D. 1977, J. 174.
๗๓
Arrêt Chappell, 3 mars 1989, Volume n° 152 de la série A des publications de la Cour.