Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 34
๑๙
(๑) การด่าเนินมาตรการอันเป็นการแทรกแซงนั้นมีกฎหมายบัญญัติให้กระท่าได้ (๒) การด่าเนิน
มาตรการนั้นเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์อันเป็นประโยชน์สาธารณะอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ก่าหนดไว้
และ (๓) การด่าเนินมาตรการนั้นเป็นสิ่งจ่าเป็นในสังคมประชาธิปไตย และได้สัดส่วนกับวัตถุประสงค์
อันเกี่ยวด้วยประโยชน์สาธารณะที่มุ่งหมายนั้น
(ก) การด าเนินมาตรการอันเป็นการแทรกแซงนั้นมีกฎหมายบัญญัติ
ให้กระท าได้
การด่าเนินมาตรการโดยองค์กรของรัฐอันเป็นการแทรกแซงการใช้
สิทธิในชีวิตส่วนตัวของบุคคลจะต้องมีกฎหมายบัญญัติได้กระท่าเช่นนั้นได้ และด่าเนินการได้ในขอบเขต
และโดยวิธีการเพียงเท่าที่กฎหมายก่าหนดไว้เท่านั้น ดังที่บัญญัติไว้ในวรรคสองของข้อ ๘ ของอนุสัญญาแห่ง
ยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ความว่า “การแทรกแซงขององค์กรของ
๒๘
รัฐในการใช้สิทธิในชีวิตส่วนตัวของบุคคลจะกระท าได้ก็เฉพาะต่อเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้เท่านั้น...”
จากบทบัญญัติดังกล่าว การด่าเนินมาตรการอันมีผลเป็นการแทรกแซง
การใช้สิทธิในชีวิตส่วนตัวของบุคคลจะกระท่าได้ก็เฉพาะแต่โดยองค์กรของรัฐ และกระท่าได้ก็ต่อเมื่อมี
กฎหมายบัญญัติให้กระท่าได้เท่านั้น เงื่อนไขดังกล่าวมีข้อสังเกตบางประการ คือ
ประการที่หนึ่ง ค่าว่า “กฎหมาย” ในที่นี้ ศาลแห่งยุโรปด้านสิทธิ
มนุษยชนมิได้หมายความถึงกฎหมายในระดับรัฐบัญญัติ (un texte nécessairement legislative)
ที่เป็นวัตถุแห่งการร้องเรียนเนื่องจากก่าหนดบทบัญญัติที่เป็นการแทรกแซงสิทธิในชีวิตส่วนตัวของบุคคล
ที่ได้รับการรับรองและคุ้มครองโดยอนุสัญญาแห่งยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ
ขั้นพื้นฐานโดยมิชอบ หากแต่ศาลมุ่งเน้นที่ “ความเป็นอิสระ” (autonome) ของกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องนั้น
โดยนัยดังกล่าว ศาลหมายความรวมถึงกฎระเบียบต่างๆ (les règlements) ตลอดจนค่าพิพากษา
(la jurisprudence) และ la Common law ด้วย
ประการที่สอง บทบัญญัติดังกล่าวมีเจตนารมณ์ส่าคัญสองประการ
กล่าวคือ การที่มีกฎหมายก่าหนดการด่าเนินมาตรการใดๆ ขององค์กรของรัฐย่อมแสดงให้เห็นว่าบุคคล
ทั้งหลายที่เกี่ยวข้องย่อมสามารถที่จะตรวจดูหรือรับทราบข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับกฎหมายนั้นได้
(l’accessibilité) กล่าวอีกนัยหนึ่ง บุคคลสามารถที่จะรับรู้เกี่ยวกับกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ทางกฎหมาย
ที่จะใช้บังคับกับตนได้ อีกทั้งยังสามารถที่จะคาดเห็นได้ล่วงหน้าอย่างเพียงพอ (la prévisibilité)
ถึงผลที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ตนจากการใช้บังคับกฎหมายนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง บทบัญญัติข้างต้นมุ่งเน้น
ที่ความสามารถของบุคคลที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึงหรือรับรู้ได้ และบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นย่อมสามารถ
คาดเห็นถึงผลของกฎหมายนั้นที่อาจจะมีต่อตนได้ โดยนัยดังกล่าว กฎหมายนั้นจึงต้องบัญญัติ
โดยใช้ถ้อยค่าที่ชัดเจนเพียงพอเกี่ยวกับขอบเขตของกฎหมายและวิธีการใช้อ่านาจขององค์กรของรัฐ
๒๘ Art. 8 al. 2 ¨Il ne peut y avoir ingérence de l’autorité publique dans l’exercice de ce droit que
pour autant que cette ingérence est prévue par la loi…”