Page 52 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 52
สวนที่ 1 เพศภาวะ: ขุนแผน 35
ผูชายมีเพศสัมพันธกอนแตงงานถือเปนเรื่องปกติ เปน
เรื่องของการเติมประสบการณชีวิต ผูหญิงที่มีเพศสัมพันธกอน
แตงงานคือ ผูหญิงที่ไมมีคา
ผูชายที่แตงงานแลวไปมีเพศสัมพันธกับผูหญิงอื่น
นอกบาน หรือผูหญิงบริการ ไมถูกสังคมประณามเทากับผูหญิง
ที่มีพฤติกรรมแบบเดียวกัน
ผูหญิงที่เปนภรรยา นอยคนที่จะกลาตอรองใหสามีของ
ตนใชถุงยางอนามัย แมจะรูวาสามีไมไดมีเพศสัมพันธกับตน
เพียงคนเดียวก็ตาม เพราะอํานาจในการตัดสินใจที่จะใชหรือ
ไมใชถุงยางอยูที่สามี
การที่ผูหญิงตองอดทนกับการถูกแทะโลมดวยคําพูด
สายตา และการกระทําของผูชาย ในกรณีเชนนี้แมจะถือเปน
การลวงละเมิดทางเพศ แตสังคมก็กลับมองขามไป ดวยคํา
อธิบายวา เปนเรื่องธรรมดาของผูชาย
การถูกขมขืน หรือถูกกระทําความรุนแรงทางเพศ อัน
เนื่องมาจากคานิยมของผูชายที่แขงขันกันสะสมประสบการณ
การมีเพศสัมพันธกับผูหญิง ความตองการการยอมรับจากเพื่อน
วาเกงในเรื่องเพศ เปน “ขุนแผน” “เพลยบอย” หรือ “คาสโนวา”
การที่ผูหญิงถูกกระทําความรุนแรงทั้งทางรางกาย จิตใจ
และทางเพศ จากความหึงหวงของคนรัก หรือสามีที่คอยหวาด
ระแวงวาภรรยา หรือคนรักจะนอกใจอยูตลอดเวลา
สําหรับในคูความสัมพันธของคนรักเพศเดียวกัน ความเจาชูของฝายใด
ฝายหนึ่ง ยอมทําใหเกิดปญหาในความสัมพันธไมแตกตางจากคูรักตางเพศ ที่
นาสนใจก็คือ ปรากฏการณการใชคําที่บงบอกถึง “ความเจาชู” กับผูที่มีอัตลักษณ
ทางเพศตางๆ ก็แสดงถึงการแบงบทบาททางเพศภาวะในความเปนชายและหญิง
ดวย จากการที่คําวา “เพลยบอย” “ขุนแผน” หรือ “คาสโนวา” มักถูกนํามาใชกับ
ทอมที่เจาชู แตกลับไมใชคําเหลานี้กับเกย หรือชายรักชายเทาไร กลับไปใชคํา
วา “สําสอน” อธิบายพฤติกรรมทางเพศของเกยมากกวา จะเปนการสะทอนให
สุไลพร ชลวิไล