Page 48 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 48
สวนที่ 1 เพศภาวะ: ขุนแผน 31
สํานวน “พระยาเทครัว” นี้ ในปจจุบันยังมีการใชอยูบางแตก็คอนขางนอย
เนื่องจากสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหผูหญิงมีอิสระมากขึ้น และไม
ตองพึ่งพิงผูชายทางเศรษฐกิจมากอยางในสมัยกอน สวนคนที่แตงงานแลว
หลายคนก็แยกครอบครัวออกมาอยูเองตางหากจากครอบครัวเดิม บวกกับในทาง
กฎหมายที่ระบุใหผูชายมีภรรยาไดเพียงคนเดียว ทําใหกรณีที่ผูชายจะไดภรรยาที่
เปนพี่นองหลายคนหรืออยูในเครือญาติเดียวกันนั้นคอนขางนอยอาจมีใหเห็นบาง
จากขาวชายหนุมแตงงานกับหญิงสาวสองคนที่เปนพี่นองกัน แตสวนใหญแลว
ผูชายที่ไดเสียกับผูหญิงในครอบครัวเดียวกัน กลายเปนเรื่องของการทําอนาจาร
ขมขืน หรือลวงละเมิดทางเพศญาติผูหญิงของทางฝายภรรยาเสียมากกวา
สําหรับคําวา “เสือผูหญิง” เปนสํานวนเปรียบเทียบผูชายที่เชี่ยวชาญ
ชํานาญเรื่องการจีบผูหญิง โดยเปาหมายอยูที่การไดมีเพศสัมพันธกับผูหญิง
เพื่อตอบสนองความตองการทางเพศของตนเองที่ไมมีที่สิ้นสุด เปรียบไดกับเสือ
ที่คอยจองตะครุบเหยื่อ เมื่อจัดการกับเหยื่อที่ลาไดแลวก็ไปหาลาเหยื่อตัวใหม
อีกตอไปเรื่อยๆ คําวา “เสือผูหญิง” คํานี้ถาเปนผูชายดวยกันเองพูด จะฟงดู
เหมือนเปนคํานิยมยกยองในความเจาชู ความมีอํานาจในความสัมพันธเหนือ
ผูหญิงในการไมปลอยใหตนเองถูกผูหญิงผูกมัดไดงายๆ แตสําหรับผูหญิงคําๆ นี้
ฟงดูใหความรูสึกถึงความเปนผูชายที่ไมนาไวใจ ผูชายที่มองเห็นผูหญิงเฉพาะแต
ในมุมที่เปนวัตถุทางเพศ ซึ่งในสังคมสมัยใหม ที่แมจะยังใหคุณคากับความเจาชู
ของผูชายอยูหากในขณะเดียวกันคานิยมเรื่อง “ความรัก” “ความซื่อสัตยตอคนรัก”
และการใหคุณคากับ “ความสัมพันธแบบผัวเดียวเมียเดียว” ก็มีสวนอยางยิ่ง
ตอการกําหนดบทบาทของผูชายในการเปนคนรัก หรือสามีที่ดีวา ถือเปนเรื่องปกติ
ที่ผูชายจะมีนิสัยเจาชูกันได แตอยางนอยก็ไมควรจะประพฤติตนถึงขนาดเปน
“เสือผูหญิง” เพราะคงไมมีผูหญิงที่เปนคนรัก หรือเปนภรรยาคนไหนยอมรับได
“ความเจาชู”: อิสระทางเพศที่ไมไดมีไวสําหรับผูหญิง
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายของ
คําวา “เจาชู” ไววา “ผูใฝในการชูสาว” แมโดยทั่วไปจะเปนคําที่ใชทั้งกับผูชาย
และผูหญิง แตในความเปนจริงแลวสังคมไทยตัดสินคุณคาความเปน “ผูชายเจาชู”
สุไลพร ชลวิไล