Page 50 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 50

สวนที่ 1 เพศภาวะ: ขุนแผน  33

                                     วันทอง, โมรา, กากี เปนชื่อนางในวรรณคดีไทย 3 เรื่อง คือ ขุนชาง-
                               ขุนแผน จันทโครบ และกากี ซึ่งแตละคนลวนมีสามีมากกวาหนึ่งคนทั้งสิ้น โดย
                                                               9
                               ผูแตงวรรณคดีเหลานี้ (ซึ่งเปนผูชายทั้งหมด ) ไดสะทอนใหเห็นวา นอกเหนือจาก
                               คําตําหนิติเตียน ประณามหยามเหยียดที่ผูหญิงไดรับเมื่อพวกเธอละเมิดบรรทัดฐาน
                               ทางสังคมในเรื่องเพศแลว พวกเธอยังจะตองถูกลงโทษอยางรุนแรงอีกดวย  เชน
                               นางวันทองถูกตัดสินประหารชีวิต นางโมราถูกสาปใหกลายเปนชะนี และนางกากี
                               ถูกนําไปลอยแพกลางมหาสมุทร ไมเพียงเทานั้นชื่อของทั้งนางในวรรณคดีทั้งสาม

                               คนนี้ไดกลายมาเปนสัญลักษณของ “ผูหญิงไมดี” ที่สมควรไดรับการตําหนิ
                               ติเตียนอยางรุนแรง ทั้งยังเปนที่มาของสํานวนซึ่งเปนที่รูกันวาเปนสํานวนที่ใชกลาว
                               ประณามและตีตราผูหญิงวา “วันทองสองใจ” หรือ “เปนอยางนางกากี” เปนตน
                                     ในยุคสมัยปจจุบันที่ผูหญิงมีสิทธิเทาเทียมกับผูชายมากขึ้น แมวาผูหญิง

                               ไทยจะไมสามารถพาตนเองใหหลุดพนจากความคาดหวังในกรอบเรื่องเพศใน
                               แบบเดิมๆ ได แตการที่ผูหญิงมีโอกาสไดรับการศึกษามากขึ้น พึ่งพาตนเองได
                               มากขึ้น บวกกับอิทธิพลของสื่อในยุคการสื่อสารไรพรมแดน ทั้งหมดนี้สงผลให

                               ผูหญิงเปดรับแนวคิดในเรื่องเพศแบบเสรีมากขึ้น ซึ่งก็ทําใหผูหญิงยุคใหม
                               กลาทาทายและตอรองในเรื่องเพศ โดยมองวาผูหญิงเองก็มีสิทธิจะดําเนินชีวิต
                               ทางเพศตามแบบที่ตนเองตองการไดไมตางจากผูชาย ตราบเทาที่ผูหญิงยังไม
                               แตงงาน สังคมอาจเปดชองใหผูหญิงมีสิทธิเลือกคบ หรือเปลี่ยนแฟนได
                               มากกวาในสมัยกอน เห็นไดจากกรณีดาราผูหญิงหลายคนที่สื่อมวลชนพากัน

                               ตั้งฉายาวาเปน “คาสโนวี่” หรือเปน “คาสโนวา” ในภาคผูหญิง เพราะพัวพัน
                               กับขาวรักๆ เลิกๆ หลายครั้ง แตสวนใหญแลวผูที่ไดรับฉายานี้ก็ดูจะไมปลื้ม
                               กับฉายาที่ไดรับสักเทาไร เพราะถึงอยางไรตนเองก็ไมตองการถูกจับจอง และ

                               ตัดสินวามีพฤติกรรมทางเพศภาวะ เพศวิถีออกไปจากกรอบที่สังคมกําหนด
                                     จะเห็นไดวาเรื่องของ “ความเจาชู” เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการใหคุณคา
                               ทางเพศภาวะที่แตกตางและไมเทาเทียมอยางยิ่ง สิ่งเหลานี้ไมเพียงมีผลตอวิถีชีวิต



                               9   เรื่องขุนชางชุนแผน มีหลายสํานวน แตเชื่อกันวาหนังสือเสภาเรื่องขุนชางขุนแผนฉบับที่ปรากฏใน
                                 ปจจุบัน แตงในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา
                                 เจาอยูหัว เรื่องจันทโครบเปนวรรณกรรมกลอนพื้นบานแตงโดยสุนทร (ภู) และเรื่องกากี แตงโดย
                                 เจาพระยาพระคลัง (หน).

                                                        สุไลพร ชลวิไล
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55