Page 57 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 57
40 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
กาวหนาก็ตอเมื่อมีจํานวนประชากรมากพอ รัฐบาลจึงไดรณรงคใหผูปกครอง
ฝายหญิงเกิดความนิยมในการเรียกสินสอดทองหมั้นแตนอย แตก็ดูเหมือนวา
การรณรงคนี้ไมไดมีผลตอการปรับเปลี่ยนทัศนคติของคนมากสักเทาไร เพราะ
จนถึงทุกวันนี้คานิยมการเรียกสินสอด หรือคาน้ํานมจํานวนมากก็ยังคงอยู
สําหรับในปจจุบันความหมายของคําวา “สินสอด” ในทางกฎหมายมีนัย
ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในเรื่องของเจตนาในการมอบสินสอด จากการให
เพื่อเปนการตอบแทนคาน้ํานมบิดามารดาที่ไดเลี้ยงดูหญิงมาจนเติบโต มาเปน
5
การใหเพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส สวนเรื่องของจํานวนคาสินสอด
ที่มอบใหกันนั้น ยังคงเปนเรื่องที่ทั้งสองฝายตองตกลงกันเอง ในทางวัฒนธรรม
อีสานมีคําเรียกการตกลงราคาคาสินสอดนี้วา “คาดคาดอง” โดยคําวา “คาดอง”
ก็คือ คาสินสอดนั่นเอง เนื่องจากการแตงงานในวัฒนธรรมอีสานจะเรียกวา
“การกินดอง” หรือการที่สองครอบครัวจะมาเกี่ยวดอง ผูกพันเปนญาติกัน
มรดกตกทอดทางวัฒนธรรมเรื่องความไมเทาเทียมระหวางเพศ
แมจะไมแนชัดวา “สินสอด” คํานี้จะมีความหมายไปในทํานองเกี่ยวของ
กับพฤติกรรมทางเพศวาเปน “สิน” ซึ่งฝายชายมอบใหกับผูปกครองของ
ฝายหญิง เพื่อจะได “สอด (ใส)” หรือมีเพศสัมพันธกับผูหญิงอยางถูกตองตาม
ประเพณีอยางที่หลายคนตีความหรือไม ที่แนๆ ก็คือ ประเพณีการมี “สินสอด”
แสดงใหเห็นถึงการที่สังคมมีความคาดหวังตอบทบาทความเปนชาย และ
ความเปนหญิงแตกตางกันอยางชัดเจน โดยผูชายถูกคาดหวังใหเปนผูนํา
เปนหัวหนาครอบครัว ในขณะที่ผูหญิงถูกคาดหวังใหเปนแมบานแมเรือนที่ดี
ใหกับสามี เปนแมที่ดีของลูก บทพิสูจนภาวะความเปนผูนําของผูชายเมื่อตกลง
ปลงใจวาจะมีครอบครัว เริ่มตั้งแตฝายชายจะตองเปนฝายสงคนมาเจรจา
ทาบทามสูขอกับผูใหญของฝายหญิง จัดหาสินสอดตามจํานวนที่ครอบครัว
ฝายหญิงเรียกรอง จัดขบวนขันหมากมาหมั้น ไปจนกระทั่งถึงรับผิดชอบดูแล
5 รัศฎา เอกบุตร. คําอธิบายกฎหมายครอบครัว การหมั้น. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญูชน. 2548.
สุไลพร ชลวิไล