Page 55 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 55

38   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ


                                           “(มาตรา ๑๐๖) ชายใดใหไปสูขอลูกสาวหลานสาวทาน
                                     ชายไดใหสีนสอดแลไปขันหมากใหญแลว ยังมิไดอยูกินดวยกัน

                                     ชายลอบทําทุราจารแกหญิงๆ นั้นฟนแทงตายไซหาโทษมิได
                                     แลขันหมากสีนสอดเครื่องอันแตงมานั้นใหไดแกผูเปนพอแม
                                     หญิงนั้น”


                                           “๑๐๙ มาตราหนึ่ง ชายใดขอลูกสาวหลานสาวทานเปน
                                     เมีย ชายไดใหสีนสอดแลวยังมิไดแตงการมงคลชายนั้นยังมิได
                                     ไปอยูกินหลับนอนดวยหญิง แลชายนั้นตายทานใหทําสีนสอด
                                     นั้นเปนสองสวน คืนใหชายสวนหนึ่งตกอยูแกหญิงสวนหนึ่ง ถา

                                     หญิงตายทานวาสีนสอดนั้นใหไวแกบิดา/มารดาหญิงจงสิ้น ถา
                                     หญิงไดเสียตัวแกชายๆตายสีนสอดนั้นใหตกอยูแกหญิงจงสิ้น
                                     เพราะวาสีนนั้นเปน สีนหัวบัวนาง  ใหไวแกหญิงแล”
                                                              3

                                     จากบทบัญญัติทั้ง 2 มาตรานี้ชี้ใหเห็นวา “สินสอด” เปนเสมือนหลักฐาน
                               และพันธะสัญญาที่ฝายชายแสดงเจตนาวาจะอยูกินรวมกันกับฝายหญิง
                               ขณะเดียวกันสินสอดก็ยังมีฐานะเปนทรัพยอยางหนึ่งซึ่งกฎหมายไดระบุถึงผูมี

                               สิทธิในการครอบครองสินสอดไวในกรณีตางๆ โดยนําเรื่อง “เพศสัมพันธ”
                               ของชายหญิงคูนั้นเขามาพิจารณาดวย ซึ่งก็ไดสะทอนใหเห็นถึงความไมมีสิทธิ
                               ในตนเองของผูหญิงไทยในสมัยกอนอยางชัดเจน กลาวคือ ในกรณีที่ผูหญิงถูก

                               ลวงละเมิดทางเพศ กฎหมายระบุวาใหสินสอดตกเปนของพอแมของฝายหญิง


                               3   คําวา “สินหัวบัวนาง”  นี้ เปนอีกคําที่นาสนใจ และมีผูอธิบายความหมายไปตางๆ กัน โดยวินัย
                                 พงศศรีเพียร บรรณาธิการหนังสือเรื่อง ภาษาไทยในกฎหมายตราสามดวง สันนิษฐานวา คําวา
                                 “บัวนาง” มาจากการเรียกคนในสมัยกอนวา บัวบาว และบัวนาง ซึ่งหมายถึง ผูดี แตตอมานํามาใช
                                 เรียกกับผูหญิงทั่วไปดวย ขณะที่ขุนวิจิตรมาตรา (สงา กาญจนาคพันธุ) อธิบายไวในหนังสือ
                                 “สํานวนไทย” วา คําๆ นี้เปนสํานวนหมายความวา คาตัวของหญิง คําวา “หัว” หมายถึง ตัวคน
                                 “บัว” หมายถึง ดอกบัว คือ นม แสดงถึงลักษณะที่เปนสวนสําคัญของผูหญิง ถือวามีคาสูง
                                 ซึ่งคลายกับที่พระยารามบัณฑิตสิทธิเศรณี ผูเขียนเรื่อง “กฎหมายผัวเมีย” (พิมพครั้งที่ 4 ป พ.ศ.
                                 2473) อธิบายวา “สินสอดเปนสินหัวบัวนาง อีกนัยหนึ่ง เปนคาหัวนม หรือน้ํานมของเจาสาว”

                                                         สุไลพร ชลวิไล
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60