Page 28 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 28

สวนที่ 1 เพศภาวะ: รักนวลสงวนตัว  11

                               อันเนื่องมาจากระบบคุณคาเรื่องเพศภาวะและเพศวิถีกระแสหลักที่ตอกย้ํา
                               อํานาจชายเปนใหญเหมือนเชนเดิม หรืออาจกลาวไดวาถึงจะรณรงคให
                               รักนวลสงวนตัวมากขึ้นเทาไร แตปญหาทางเพศตางๆ ก็ไมไดลดลงแตอยางใด

                               เนื่องจากคานิยม “รักนวลสงวนตัว” ยังคงทําหนาที่ผลิตซ้ําการควบคุมทางเพศ
                               ที่คอยตอกย้ําวาผูหญิงที่ดียอมไมควรแสดงความปรารถนาที่จะเรียนรู หรือ

                               แสดงออกในเรื่องเพศ บอกใหผูชายตองคอยเปนผูนํา และผูหญิงตองคอยเปน
                               ผูตาม โดยผูชายควรตองเปนฝายมีความรู ความชํานาญในเรื่องเพศมากกวา
                               ผูหญิงไมจําเปนตองเรียนรูเรื่องเพศ ผูหญิงถูกขูใหตกอยูในสถานะเสียเปรียบกวา
                               เพราะตองเปนฝายทอง ผลที่ตามมาจากคานิยมความเชื่อในเรื่องเพศเชนนี้ก็คือ

                               ผูหญิงทุกรุนทุกวัยถูกปดกั้นจากการเรียนรูและการทําความเขาใจในเรื่องการมี
                               เพศสัมพันธอยางปลอดภัยและเรียนรูถึงการมีความสุขทางเพศ เรื่องการปองกัน
                               ตนเองจากโรคติดตอทางเพศสัมพันธตางๆ และเรื่องการรูเทาทันปญหาทางดาน

                               สุขภาวะทางเพศที่เกิดขึ้น เพราะผูหญิงอายที่จะสํารวจเรียนรูรางกายตนเอง อาย
                               ที่จะพูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องเพศ อายที่จะสื่อสารกับคูเพื่อใหเกิดการมี
                               เพศสัมพันธอยางปลอดภัยและไดรับความสุขทั้งสองฝาย อายที่จะไปพบเจาหนาที่
                               ผูใหบริการดานสุขภาวะทางเพศ หรือเมื่อไปแลวก็ยังอาจจะอายที่จะตองพูด

                               หรือสื่อสารอยางตรงไปตรงมากับผูใหบริการเพื่อนําไปสูการวินิจฉัยที่ถูกตองได



                               เพศวิถีศึกษา: เรื่องเพศ วิถีชีวิต และสิทธิทางเพศ

                                     ในสังคมไทยเรื่องเพศก็ถือเปนเรื่อง “ละเอียดออน เปนเรื่องสวนตัว เปน
                               เรื่องที่ควรปดบังซอนเรน” เรื่องเพศจึงเปนสิ่งที่ไมควรนํามาเปดเผยหรือกลาวถึง

                               ในที่สาธารณะ คานิยมความเชื่อเรื่อง “การรักนวลสงวนตัว”  ถูกนํามาใชเปน
                               แนวคิดหลักในการรณรงคแกปญหาเรื่องเพศสัมพันธของเยาวชน และรณรงค
                               เรื่องการปองกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดสเสมอเมื่อพูดถึงพฤติกรรมทางเพศของ
                               เยาวชนหญิง สถาบันทางสังคมตางๆ ไดพยายามสื่อสารสรางกระบวนการ
                               กลอมเกลาเยาวชนโดยพร่ําบอกวาเด็กและเยาวชนในฐานะอนาคตของชาติยัง

                               ไมถึงวัยที่“สมควรจะเขาไปยุงเกี่ยว”กับเรื่องเพศ มุมมองทางสังคมในเรื่องเพศ


                                                        มลฤดี ลาพิมล
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33