Page 29 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 29

12   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                                                              19
                               ดังกลาวสอดคลองกับอุดมการณเรื่องเพศในยุคสมัยวิคตอเรียน  ซึ่งไดเขามามี
                               อิทธิพลตอวิธีคิดของคนไทยตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 และกลายเปนมรดกทาง
                                                                                20
                               วัฒนธรรมเรื่องเพศซึ่งตกทอดมาสูสังคมไทยจวบจนกระทั่งปจจุบัน
                                     คานิยมเรื่องการรักนวลสงวนตัวนอกจากจะแสดงถึงการควบคุมผูหญิง

                               ในเรื่องเพศแลว ยังแฝงนัยเรื่องของ “วัยที่เหมาะสม” ในการมีเพศสัมพันธดวย
                               โดยคําที่มาคูกันกับคําวา “รักนวลสงวนตัว” ก็คือคําวา “การมีเพศสัมพันธ
                               กอนวัยอันควร”  ซึ่งคําๆ นี้อาจตีความไดหลายอยาง เชน ถามองจากมุมเชิง
                               สังคมและวัฒนธรรมแลว “การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร” จะหมายถึงการมี

                               เพศสัมพันธในวัยที่ยังไมเหมาะสม เชน ในวัยเด็ก หรือยังเปนเยาวชนซึ่งอยู
                               ในชวงของการศึกษาเลาเรียน และเปนชวงอายุที่ไมพรอมทางวุฒิภาวะและ
                                                               21
                               ความรับผิดชอบตอผลกระทบที่จะตามมา  แตหากอธิบาย “การมีเพศสัมพันธ
                               กอนวัยอันควร” ดวยองคความรูอีกดานหนึ่งคือ ดานกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ
                               ก็จะหมายถึง การมีเพศสัมพันธกอนที่อวัยวะสืบพันธุจะพรอมในการเจริญพันธุ
                               เต็มที่ ซึ่งอาจสงผลตอสุขภาวะทางเพศโดยทําใหอวัยวะสืบพันธุไดรับ




                               19  “ผูคนในยุควิคตอเรีย คอนขางที่จะเจาระเบียบและพิถีพิถันมาก และมีการแสรงปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องเพศ
                                 เสมือนกับวามันไมไดมีอยู ประหนึ่งวาผูคนในสมัยนั้นไมไดมีรางกายแตอยางใด กลาวคือ สิ่งเหลานี้
                                 เปนทาทีสวนหนึ่งของการรณรงคหรือการเผยแพรตอบรรดาผูหญิงใหเขาใจวาเปนอยางนั้น พวกเขาได
                                 พร่ําสอนผูหญิงใหอยูในโอวาท มีความประพฤติที่เรียบรอยเหมาะสม และยังบอกอีกดวยวา เรื่องเพศ
                                 หรือเรื่องเซ็กสนั้นไมใชเรื่องสนุก และดวยเหตุดังนั้นพวกเธอควรที่จะคิดถึงเรื่องอื่น เชน ใหนึกถึง
                                 การทําความสะอาดครัวเรือน ในขณะที่บรรดาสามีของพวกเธอมีความตองการพยายามใหกําเนิด
                                 ทายาท เปนตน แตในเวลาเดียวกันนั้น เมื่อเราออกไปยังทองถนน เราจะพบวามีบรรดาโสเภณีกันอยู
                                 ทั่วไปทุกหนทุกแหง เพราะผูคนในยุควิคตอเรียนตางก็บาเซ็กสกันอยางเต็มที่ ซึ่งอันนี้มันเปนไป
                                 อยางลับๆ พวกเขาทั้งหมดคิดถึงกันแตในเรื่องนี้อยูตลอดเวลา ทั้งนี้เปนเพราะวาพวกเขาไดถูกสะกด
                                 ขมในเรื่องทางเพศกันมากนั่นเอง ดังนั้นเรื่องเพศหรือเรื่องเซ็กสมันจึงตีกลับขึ้นมาในหมูพวกเขา ถึงขั้น
                                 เจ็บปวยกันเลยทีเดียวและมากขึ้นๆ เรื่อยๆ” ทัศนะทางความรูและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวของ
                                 กับเรื่องเพศแบบวิคตอเรียนไดเขามามีอิทธิพลตอวิธีคิดของคนไทยตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 และ
                                 กลายเปนมรดกทางวัฒนธรรมเรื่องเพศซึ่งตกทอดมาสูสังคมไทยจวบจนกระทั่งปจจุบัน อางจาก
                                 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน. ไมปรากฏชื่อผูแปล. “ประวัติศาสตรเกี่ยวกับเรื่องเพศ” แปลจาก Michel
                                 Foucault. “History of Sexuality” <http://www.geocities.com/fineartcmu2001/newpage14.htm>
                               20  มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, อางแลว
                               21  สุทธิดา มะลิแกว. “เด็กติดเซ็กส VS รักนวลสงวนตัว”. ใน เก็บมาคิดเอามาเขียน เว็บไซตประชาไท
                                 ดอทคอม, 11 กรกฎาคม 2548 <http://www.prachatai.com/05web/th/columnist/viewcontent.php?Sys
                                 temModuleKey=Column&System_Session_Language=Thai&ColumnistID=6&ContentID=133&ID=6>

                                                         มลฤดี ลาพิมล
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34