Page 24 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 24
สวนที่ 1 เพศภาวะ: รักนวลสงวนตัว 7
สําหรับคําวา “แรด” ที่เปนคําแสลงนั้น ถูกใหความหมายไวอยาง
หลากหลายดังนี้
10
แรด (ปาก) ก. ดัดจริต
แรด ก. ประพฤติตัวเหลวแหลกและประเจิดประเจอทางชูสาว เชน
เด็กสมัยนี้แรดมาก มีแฟนตั้งแตอายุยังนอย ในหมวดคําเดียวกันนี้ยังมีคําวา
11 ร.ด. (สิบ-เอ็ด-รอ-ดอ) และ 66 ร.ด. (หก-สิบ-หก-รอ-ดอ) ดวย หมายถึง
ประพฤติตัวฉาวโฉและประเจิดประเจอทางชูสาว (เปนคําเลี่ยงของคําแรด) เชน
11 ร.ด. อยางนี้ระวังจะฉีกผาออมไมทัน. (เลข 11 และ 66 แทนสระ “แ-”) นอก
จากนี้ยังมีคําที่มีความหมายในทํานองเดียวกันอีก แตมีนัยในเชิงที่ไมแสดงออก
ประเจิดประเจอ เชน คําวา แรดเงียบ แรดหลบใน เชน ดาราคนนี้แรดเงียบ
ทําตัวเรียบรอย แตเบื้องหลังเปลี่ยนคูนอนเปนวาเลน 11
ในภาษาถิ่นของภูมิภาคตางๆ ก็มีคําประณามพฤติกรรมและการแสดง
ออกดานเพศและความสัมพันธทางเพศของผูหญิง ที่มีความหมายตรงกับคําวา
“แรด” หรือ “ดัดจริต” ในภาษาไทยภาคกลางเชนกัน ไดแกคําวา “แฮน” และ
“สะหลิด” ในภาษาถิ่นภาคเหนือ คําวา “แฮด” หรือ “หีเคียว” ในภาษาไทยถิ่น
12
13
อีสาน และคําวา “ออรอ” ในภาษาถิ่นภาคใต
คําศัพทที่นิยมใชดา หรือประณามผูหญิงในเรื่องเกี่ยวกับการมี
พฤติกรรมทางเพศในทางที่ไมดีซึ่งมีความหมายที่รุนแรงคือ คําวา“แพศยา”
และ “ดอกทอง” ซึ่งทั้งสองคําเปนคําที่เกาแกมากปรากฏหลักฐานการ
ใชอยูในกฎหมาย และวรรณคดีมาตั้งแตสมัยอยุธยา ซึ่งในพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับป พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายวา
แพศยา น. หญิงหาเงินในทางประเวณี, หญิงถอย, หญิงสําสอน.
(ส. เวศฺยา; ป. เวสิยา).
10 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส
พับลิเคชั่นส. 2546. หนา 978.
11 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค. 2550.
หนา 136.
12 ดูเพิ่มเติมในคําวา “หี”
13 เว็บไซต <http://th.wikipedia.org/wiki ภาษาไทยถิ่นใต>
มลฤดี ลาพิมล