Page 27 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 27
10 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
สถาบันการศึกษา สถาบันการแพทย ศาสนา ไปจนกระทั่งสื่อตางๆ และเมื่อมี
ขาวเรื่องปญหาการมีเพศสัมพันธของเยาวชน หรือเมื่อถึงชวงเทศกาลตางๆ ที่
เชื่อกันวาจะมีเยาวชนเสียตัว สื่อมวลชน ตลอดจนองคกรที่ทํางานเกี่ยวของกับ
เด็กและเยาวชนของภาครัฐและภาคเอกชนตางๆ ก็จะพากันตื่นตัวตอการจัด
กิจกรรมรณรงคสงเสริมคานิยมเรื่องการรักนวลสงวนตัวมากขึ้นอีกเปนพิเศษ
ที่เห็นไดชัดเจนคือ การกอตั้งชมรมรักนวลสงวนตัวของอดีต สว. หญิงชื่อดัง
ที่จัดกิจกรรมรณรงคตามโรงเรียนเพื่อกระตุนใหเยาวชนรุนใหมซึ่งถูกมองวา
ไมรักนวลสงวนตัวไดกลับมาเห็นคุณคาของคานิยมนี้ และรูจักปฏิบัติตัวและ
วางตัวอยางเหมาะสมตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เชน
o การจัดทําสติ๊กเกอรที่มีขอความรณรงคติดบนรถประจําทางขนสง-
มวลชนกรุงเทพฯ ใหวัยรุน “รักษาใจ รักษากาย ทั้งหญิงชาย
รักษวัฒนธรรม”
o การรณรงค “คาถา 10 อยา” สําหรับหญิงสาว ของสํานักงาน-
17
ตํารวจแหงชาติ
o การรณรงคและฝกอบรมของโครงการดานสาธารณสุข สภาสตรี-
แหงชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ เพื่อสรางภูมิคุมกันการรักนวล-
สงวนตัว ควบคูกับเรื่องสุขอนามัยของเยาวชนสตรีและการจัดทํา
18
คูมือ “วัยกระเตาะรักนวลสงวนตัว”
หากในขณะที่สังคมยกยองคุณคาของคานิยมเรื่องการรักนวลสงวนตัว
และตั้งความหวังไววาคานิยมนี้จะชวยปองกันผูหญิง และเด็กผูหญิงจากปญหา
เรื่องเพศทุกๆ ปญหาได ตั้งแตปญหาการมีเพศสัมพันธในวัยที่ (สังคมมองวา)
ไมเหมาะสมซึ่งจะนําไปสูปญหาอื่นๆ อีกมากมายไมวาจะเปน ปญหาเรื่องทอง
ไมพรอม ปญหาการทําแทง ปญหาเรื่องความเสี่ยงตอการไดรับเชื้อเอชไอวี/เอดส
และปญหาเรื่องการถูกลวงละเมิดทางเพศหรือถูกกระทําความรุนแรงทางเพศ
หากความเปนจริงที่เกิดขึ้นคือ ผูหญิงและเด็กผูหญิงยังคงตองเผชิญกับปญหา
17 sivakorn ฟนคานิยม ‘เยาวสตรี’ ‘รักนวลสงวนตัว’ คาถาสยบ “มั่วเซ็กซ”. โพสตเมื่อ 27 ก.ย. 2547
เว็บไซต<http://www.expert2you.com/view_article.php?cat_sel=129000&art_id=1891>
18 sivakorn, อางแลว
มลฤดี ลาพิมล