Page 30 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 30

สวนที่ 1 เพศภาวะ: รักนวลสงวนตัว  13

                               ความกระทบกระเทือน ฉีกขาด หรือไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธตางๆ
                               ซึ่งโดยทั่วไปเมื่อกลาวถึงเรื่องการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร คนสวนใหญ
                               จะนึกถึงมุมมองในเรื่องของสังคมและวัฒนธรรม (ซึ่งเชื่อมโยงกับคานิยมเรื่อง
                               การรักนวลสงวนตัว) มากกวา

                                     ตลอดเวลาที่ผานมาการใหความรูเรื่องเพศกับเยาวชน มักเนนไปที่การ
                               ปดกั้นเยาวชนใหหางไกลจากเรื่องเพศ ดวยการปลูกฝงคานิยมเรื่องการรักนวล-
                               สงวนตัว การมองเรื่องเพศแตในเชิงกายวิภาคหรือสรีระที่แตกตางระหวางชาย

                               และหญิง การสอนใหเยาวชนตองควบคุมอารมณความรูสึกทางเพศของตนดวย
                               การหันไปทํากิจกรรมอยางอื่น เชน เลนกีฬา ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ไมสามารถ
                               สนองตอบความสนใจใครรู หรือใหคําตอบกับคําถามในเรื่องเพศของเยาวชน

                               และสวนทางกับการที่สื่อและเทคโนโลยีสมัยใหมที่เต็มไปดวยเรื่องเพศ ซึ่งเยาวชน
                               สามารถเขาถึงไดทุกที่ ทุกเวลา และทุกชองทาง
                                     การเรียนรูเรื่องเพศที่สงเสริมการวิเคราะหวิพากษของเด็กและเยาวชน

                               จึงนาที่จะใหความสนใจกับการศึกษาภาษาและอิทธิพลของภาษาที่สืบทอด
                               อุดมการณเรื่องเพศ วิเคราะหและทําความเขาใจขนบธรรมเนียมประเพณีเรื่องเพศ
                               ที่คนในสังคมไทยยึดถือ เพื่อพิจารณาใหเห็นถึงระบบเพศภาวะที่ตีกรอบความเปน
                               ผูชายความเปนผูหญิง และเพศวิถีที่แฝงมากับพิธีกรรมและวัฒนธรรมของ

                               ชุมชน/กลุมคนในสังคมตางๆ การเรียนรูเรื่องเพศควรสรางกระบวนการที่สงเสริม
                               ศักยภาพการคิดของเด็กและเยาวชนที่สัมพันธกับปรากฏการณเรื่องเพศในสังคม
                               รวมสมัย เพื่อฉายใหเห็นวาเรื่องเพศ เพศวิถี หรือวิถีทางเพศ ไมใชปญหา

                               แตเปนเรื่องธรรมชาติของมนุษย เปนสวนผสมของวัฒนธรรมและความหมาย
                               ทางสังคมวัฒนธรรม เปนอารมณความรูสึก รสนิยม ทางเลือก และที่เกี่ยวของกับ
                               ทัศนคติและความเปนตัวตน ซึ่งคนทุกคนควรตระหนักถึงสิทธิทางเพศในการที่
                               คนเราจะเลือกเปนเพศใด มีการแสดงออกทางเพศแบบไหน มีเพศวิถีเปนแบบใด

                               เพราะสิทธิทางเพศเปนสวนหนึ่งของสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ทุกคนพึงเคารพ
                                     กลาวถึงที่สุดแลวการเรียนรูและทําความเขาใจเรื่องเพศที่ดี ควรสราง

                               กระบวนการเรียนรูที่จะนําไปสูการวิเคราะหอยางลงลึกถึงกระบวนการกลอมเกลา
                               ทางสังคม การปลูกฝงคานิยมและความคิดความเชื่อเรื่องเพศภาวะและ
                               เพศวิถีตางๆ ซึ่งสงผลใหผูหญิงขาดความรู และขาดซึ่งศักยภาพในการที่จะเลือก


                                                        มลฤดี ลาพิมล
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35