Page 31 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 31

14   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               ตัดสินใจดําเนินชีวิตทางเพศไดดวยตนเอง ขณะเดียวกันก็ทําใหวัยรุนชาย    มี
                               โอกาสจะเรียนรูเรื่องเพศไดอยางเปดเผยมากกวาวัยรุนหญิง ทําใหวัยรุนชาย
                               แสวงหาประสบการณทางเพศอยางไมมีขีดจํากัด และแสดงออกซึ่งเสรีภาพ

                               ทางเพศไดอยางเต็มที่ เพื่อใหไดมาซึ่งการยอมรับในความเปนชายของตน
                                     “รักนวลสงวนตัว” จึงเปนภาษาที่แสดงถึงการกดขมบังคับทางเพศตอ

                               ผูหญิง และเปนสโลแกนยอดนิยมของการรณรงคที่เคลือบดวยอุดมการณ
                               “เพศสัมพันธในกรอบการแตงงานหรือเพศสัมพันธของผูใหญ ถือเปน
                               เพศสัมพันธที่ชอบธรรม” ซึ่งนอกจากผูชายแลว เด็ก เยาวชน และผูหญิงไมพึงมี
                               เพศสัมพันธจนกวาจะแตงงาน การที่โครงการรณรงคสวนใหญไดยึดเอาคานิยม
                               เรื่องการรักนวลสงวนตัวมาเปนแนวทางในการปองกันปญหาเรื่องเพศในสังคมนั้น

                               กําลังสะทอนความคาดหวังและบทบาททางเพศที่กํากับระบบคิดเรื่องเพศของคน
                               ในสังคมในเรื่องเพศวิถีของเยาวชนและผูหญิง และละเลยการวิเคราะหใหเห็นถึง
                               บริบททางสังคมวัฒนธรรมที่เปนปจจัยผลักดันใหเด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ

                               ในวัยเรียน มิติความสัมพันธเชิงอํานาจอันเปนตัวแปรสําคัญในการตอรองการมี
                               เพศสัมพันธของเด็กและผูหญิงในสถานการณตางๆ อีกทั้งยังนําเอามาตรฐาน
                               ศีลธรรมจริยธรรมมาพิพากษาและประณามพฤติกรรมทางเพศของเด็กและผูหญิง
                               โดยมิไดใสใจกับบริบทแวดลอมและคานิยมทางสังคมซึ่งเปนตัวแปรสําคัญ

                                     ทามกลางกระแสที่เชี่ยวกรากของระบบคานิยม ความคิดและความหมาย
                               ทางวัฒนธรรมใน “เรื่องเพศ” ที่แปรเปลี่ยนอยางรวดเร็ว คานิยมเรื่องการ

                               รักนวลสงวนตัว หรือละเวนเพศสัมพันธกอนแตงงานจึงดูเปนความพยายามที่
                               สวนกระแส และไมสอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและวัฒนธรรม
                               ทางเพศของวัยรุนไทยภายใตบริบทของโลกาภิวัฒนและกระแสบริโภคนิยมการ
                               รณรงคเรื่องรักนวลสงวนตัว นอกจากจะไมไดสงเสริมศักยภาพของเยาวชนในการ

                               คิดวิเคราะห “เรื่องเพศ” เพื่อปลดปลอยตนเองออกจากพันธนาการของความเปน
                               หญิงเปนชายภายใตระบบเพศวิถีแบบไมเทาเทียมไดนํามาซึ่งความเสี่ยงตอปญหา
                               สุขภาวะทางเพศแลว ยังเปนแนวทางการทํางานซึ่งมิไดคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน

                               ในทางเพศ ที่สงเสริมใหเยาวชนทุกคนสามารถเขาถึงการมีเพศสัมพันธอยาง
                               ปลอดภัย หรือ มีเพศสัมพันธในรูปแบบที่ตองการดวยความยินยอมพรอมใจดวย



                                                         มลฤดี ลาพิมล
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36