Page 32 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 32
สวนที่ 1 เพศภาวะ: ขึ้นคาน 15
ขึ้นคาน
สุไลพร ชลวิไล
สํานวนไทย (ไม) โบราณ
ขึ้นคาน เปนสํานวนไทยโบราณที่ใชกันมาจนทุกวันนี้ หมายถึง “ผูหญิง
1
ที่มีอายุเลยวัยสาวแลวแตยังไมไดแตงงาน” มาจากการเรียกเรือที่ถูกยกขึ้น
มาไวบนบก (บนคาน) เพื่อรอซอม อุดรอยรั่ว หรือทาน้ํามัน ที่ตองยกเรือขึ้นคาน
เพราะเรืออาจจะมีสภาพเกาแลว หรือมีรอยรั่ว การที่เรือถูกยกขึ้นมาอยูบนคาน
ก็เทากับวาเรือนั้นหมดประโยชน หรือใชไมได และความหมายนี้เองก็ไดถูกนํา
มาใชเปรียบเทียบกับผูหญิง
“กาญจนาคพันธุ” อธิบายวา “ขึ้นคาน” เปนสํานวนหมายถึง “การเลิกราง
อยูโดดเดี่ยว สวนมากมักใชกับผูหญิงที่มีสามีเลิกรางไมเกี่ยวของ ตองอยู
คนเดียว หรือใชกับหญิงสาวที่ไมมีโอกาสจะหาคูไดเหมาะสม เชน มีฐานะสูง
หรือมั่งมีมาก ไมมีชายใดกลาเขาไปเกี่ยวของ ตองคางเริดอยู หรือวาเปน
สาวใหญแลวก็เลยไมคิดหาคู หรือไมมีชายใดเขาไปยุงเกี่ยว”
2
ในสมัยกอนคําวา “ขึ้นคาน” ไมไดมีความหมายตรงกับที่เราเขาใจกัน
อยางในสมัยนี้เสียทีเดียว โดยในสมัยกอนคําๆ นี้ถูกใชในสองความหมายคือ ใช
ทั้งกับ ผูหญิงที่หยาราง และ ผูหญิงโสดที่ยังไมไดแตงงาน ในขณะที่ปจจุบันนี้
จะใชเรียกผูหญิงที่ไมไดแตงงานมากกวา สวนผูหญิงที่หยารางนิยมใชคําวา
“แมมาย”แทน โดยคําวา “ขึ้นคาน” เปนคําที่ใชเรียกสถานะของผูหญิง เชนเดียว
กับคําวา “โสด” สวนคํานามที่ใชเรียกแทนผูหญิงที่ยังไมมีคู ไมมีสามี หรือยังไม
1 กาญจนา นาคสกุล, ศ.ดร. ภาษาไทยวันนี้ (รวมคําภาษาไทยนารูจากนิตยสารสกุลไทย และ
โทรทัศน) สํานักพิมพเพื่อนดี. กรุงเทพฯ: กรกฎาคม 2544. หนา 25.
2 กาญจนาคพันธุ. สํานวนไทย สํานักพิมพบํารุงสาสน พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: พ.ศ. 2522. หนา 159.
สุไลพร ชลวิไล