Page 23 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 23

6   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ


                               แรด ดอกทอง: ปายปกเมื่อไมรักนวล


                                     ในขณะที่การรักนวลสงวนตัวถูกใหคาวาเปนคุณสมบัติที่แสดงถึง
                               เกียรติยศ และศักดิ์ศรีของผูหญิง ผูหญิงที่ละเมิดคานิยมเรื่องรักนวลสงวนตัว
                               ยอมถูกสังคมตําหนิติเตียน ดูถูก และประณามเพราะพวกเธอไดทาทายขนบ

                               ของความเปน “ผูหญิงดี” ในเรื่องเพศ ซึ่งในภาษาไทย (ทั้งในภาษาพูดในชีวิต-
                               ประจําวัน ภาษาแสลง และภาษาเขียน) มีคําตําหนิ หรือประณามผูหญิงที่มี
                               พฤติกรรมและการแสดงออกทางเพศในทางที่ไมรักนวลสงวนตัวอยูหลายคํา
                               ตั้งแตคําที่มีระดับน้ําเสียงไมรุนแรงมาก เชน คําวา ดัดจริต แดะแด

                               ไปจนกระทั่งถึงคําดาที่หยาบคายมากๆ เชน คําวา ราน แรด (อีแรด, 11 ร.ด.)
                               ดอกทอง (อีดอกทอง) แพศยา
                                                                       7
                                     ดัดจริต ก. แสรงทํากิริยาหรือวาจาใหเกินควร.
                                     แดะแด, แดะแด ก. 1. ดัดจริต ดีดดิ้น เชน เปนผูชายแทๆ แตเลนละคร
                               ไดแดะแดเหมือนกะเทยจริงๆ 2. ทาทางดุกดิ๊ก นาเอ็นดู เชน หมาตัวนี้แดะแดขี้
                                                                                         8
                               ประจบเจาของดีจัง 3. เที่ยวกรีดกราย เชน วันๆ งานการไมทํา เที่ยวแดะแดไปทั่ว
                                                                              9
                                     ราน ก. อยาก, ใคร (มักใชในทางกามารมณ); รีบ, ดวน.
                                     แรด โดยทั่วไปหมายถึง ชื่อของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญชนิดหนึ่ง
                               หนังหนา หยาบ มี 4 เทา มีนอที่สันจมูก จากการสืบคนที่มาของการที่คําวา
                               “แรด” ไดกลายมาเปนคําดาที่ใชเฉพาะสําหรับผูหญิง พบวามีผูใหขอมูลที่

                               อางอิงถึงคําพูดของเจาหนาที่ดูแลสัตวปาที่เลาตอๆ กันมาวา อาจจะมาจาก
                               พฤติกรรมของแรดตัวเมียที่จะมีความตองการทางเพศสูงมากในชวงฤดูผสมพันธุ
                               และเมื่อมีแรดตัวผูมาผสมพันธุก็อาจไลขวิดตัวผูจนตัวผูตายได



                               7   ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
                                 2546. หนา 401.
                               8   ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค. 2550.
                                 หนา 68.
                               9   ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
                                 2546. หนา 953.

                                                         มลฤดี ลาพิมล
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28