Page 33 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 33

16   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               ไดแตงงานนั้นมีอยูดวยกันหลายคํา โดยบางคําไมนิยมใชในปจจุบันแลว และ
                               บางคําก็ยังคงใชกันอยูในทองถิ่น ไดแกคําวา

                                     สาวทึนทึก (หรือสาวทึมทึก)  น.สาวใหญที่ยังไมไดแตงงาน, สาวเทื้อ
                               ก็วา.  คําวาทึนทึกมาจากการเรียกมะพราวที่จวนแกวา มะพราวทึมทึก
                                   3
                                                                              4
                                     สาวเทื้อ คําวา เทื้อ หมายถึง ว. สาวแก, ทึนทึก; ไมวองไว  จากการคนหา
                               คําวา สาวเทื้อ ในอินเทอรเน็ต พบวาคําๆ นี้นาจะเปนศัพทเกา เพราะถูกพูด

                               ในบริบทที่เกี่ยวของกับพระวินัยในพระไตรปฎก ซึ่งไดระบุวา สตรีที่เปนโสเภณี
                               เปนหมาย เปนสาวเทื้อ เปนชี และกะเทย ไมควรไปมาหาสูกับพระ โดยไมเปน
                                                             5
                               กิจจะลักษณะ หรือผิดเวลา (วิ. ๒/๑๘๑)
                                     สาวเคิ้น เปนคําภาษาเหนือ ใชเรียกผูหญิงที่ยังไมแตงงาน คําวา เคิ้น
                                                                                    6
                               แปลวา เหลือ เชน แมคาเอาของไปขายที่ตลาดแลวขายไมหมดก็จะ เคิ้น
                                     สาวแก หรือในภาษาเหนือใชคําวา สาวเฒา หรือ สาวเถา ก็เปนอีกคํา

                               ที่ใชเรียกผูหญิงที่อยูเปนโสดไปจนแก หรือไมไดแตงงาน
                                     คําเหลานี้ลวนแตเปนคําที่มีนัยในเชิงตําหนิ ใชกับผูหญิงโดยเฉพาะ
                                                          7
                               หรือไมก็ใชกับผูหญิงเปนสวนใหญ  ซึ่งแมวาสังคมจะมีความคาดหวังกับทั้ง
                               ผูหญิงและผูชายไมตางกันวาควรตองมีคู (ตางเพศ) และแตงงานเมื่อถึงวัยที่

                               เหมาะสม อยางเชน ทางภาคเหนือก็มีคานิยมวา ถาหนุมสาวใด เลยวัย 30 แลว
                               ยังหาคูไมได คือบเปนหอเปนเรือน ถือวาเปนที่นาอับอายขายหนา นับวาเปน







                               3   ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
                                 2546. หนา 1185.
                               4   ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
                                 2546. หนา 544.
                               5   จากเว็บไซต ลานธรรมเสวนา<http://larndham.net/index.php?act=Print&client=html&f=4&t=
                                 24175>
                               6   ความหมายจากเว็บไซต อาณาจักรสาวเคิ้น <http://saokern.is.in.th/?md=content&ma=show
                                 &id=1>, <http://lanna.mju.ac.th/lannafestival_detail.php?recordID=6>
                               7   ในภาษาเหนือ ผูชายที่เลยวัยเหมาะสมที่จะแตงงาน หรือมีคู แลวไมไดแตงงาน ก็มีศัพทเรียกดวย
                                 เชนกัน  โดยเรียกวา บาวเคิ้น หรือ บาวเฒา.

                                                         สุไลพร ชลวิไล
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38