Page 269 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 269

254  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               สรางการที่สังคมมักมองภาพกะเทยอยางรวม และคณะนักวิจัยชี้ใหเห็นวา
                               กะเทยมีความแตกตางหลากหลายในดานวิถีปฏิบัติทางเพศและการนําเสนอ

                               รูปลักษณภายนอก หรือคําวาชายรักชาย ยังมีกลุมคําที่เกี่ยวโยงกันอีก ไดแก
                               เกยคิง เกยควีน และเกยโบธ ชี้ใหเห็นวาการเปนฝายรุกหรือรับในการปฏิบัติทาง
                               เพศในกลุมชายรักชายมิใชสิ่งตายตัวและไมนามีผูใดมากะเกณฑให       กิจ

                               กรรมทางเพศนี้ตายตัว เพศวิถีซึ่งเปนสิ่งที่ลื่นไหลไปตามบริบทความสัมพันธ
                                     การที่วาทกรรมเรื่องเพศกระแสหลักยังคงเปนวาทกรรมเรื่องเพศเพียง
                               รูปแบบเดียวที่ครอบงําระบบความคิดความเชื่อเรื่องเพศ และกําหนดแนวปฏิบัติ
                               ในเรื่องเพศของผูคนในสังคมนั้น เปนผลมาจากการที่รัฐพยายามจะเขามาควบคุม

                               และจัดระเบียบเรื่องเพศของคน โดยผานทางกลไกทางสังคมตางๆ ไมวาจะเปน
                               การพยายามผลิตชุดความรูความจริงในเรื่องเพศโดยใชหลักเหตุผลทาง
                               วิทยาศาสตรสุขภาพ การแพทย จิตวิทยาตางๆ มาอธิบาย หรือการสรางและ

                               ผลิตซ้ําคานิยมในเรื่องเพศที่อางอิงกับหลักศีลธรรม กฎเกณฑทางศาสนา
                               ตลอดจนแนวคิดเรื่องการควบคุมจํานวนประชากร และหลักกฎหมายตางๆ
                               ดวยเหตุนี้วาทกรรมเรื่องเพศกระแสหลักจึงไมไดดํารงอยูตามลําพังดวยตัวมันเอง

                               โดดๆ หากแตเปนสวนหนึ่งของการโยงใยความรู และความจริงเรื่องเพศที่
                               ถูกผลิต ถายทอด และสถาปนาตนเองผานกลไกทางสังคม และผานทางบุคคล
                               เกี่ยวของกับการผลิต และการใชความรูนั้น ดังจะเห็นไดจากการที่ครั้งหนึ่ง

                               “การรักเพศเดียวกัน” ถูกอธิบายในทางการแพทยวาเปนความผิดปกติทางเพศ
                               แตเมื่อไมสามารถจะหาขอมูล หรือหลักฐานในเชิงประจักษมาสนับสนุนแนวคิด
                               ทฤษฎีนี้อยางชัดเจน ในที่สุดวงวิชาการดานการแพทยและจิตวิทยาก็ได
                               ประกาศถอนหัวขอการรักเพศเดียวกันออกจากบัญชีรายชื่อโรค และความผิด

                               ปกติทางจิตในคูมือการรักษา ถึงแมองคความรูในทางวิชาการจะเปลี่ยนไปแลว
                               ก็ตาม คนในสังคมสวนใหญก็ยังมองเรื่องการรักเพศเดียวกันเปนเรื่องของ
                               ความผิดปกติ (เพราะละเมิดแบบแผนคานิยมความเชื่อทางสังคมในเรื่องเพศ)

                               หรือเปนเรื่องความผิดบาป (เพราะละเมิดกฎเกณฑทางศีลธรรมศาสนา) อยูดี
                                     หรือในกรณีของ “การมีเพศสัมพันธทางทวารหนัก” หรือ “การใชปาก”
                               ซึ่งทุกวันนี้ไดรับการอธิบายในมุมบวกมากขึ้น วาเปนเรื่องรสนิยม สิทธิ

                               เหนือเนื้อตัวรางกาย และความพึงพอใจทางเพศสวนบุคคล แตคนในสังคม

                                                   สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274