Page 264 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 264

บทสงทาย  249

                                     อยางไรก็ตามสังคมยังคาดหวังกับผูหญิงอีกดวยวา ผูหญิงควรตอง
                               แตงงานมีครอบครัว มีลูก จึงจะถือวาเปนผูหญิงที่สมบูรณ ผูหญิงซึ่งถึงวัยที่
                               ควรจะแตงงานแลวยังไมไดแตงงาน ก็จะถูกสังคมติฉินนินทาวา จะตองเปน

                               ผูหญิงที่ขาดคุณสมบัติอะไรบางอยางไปแนๆ ถึงไดไมมีผูชายคนไหนอยาก
                               แตงงานดวย โดยมีคําศัพทในเชิงตําหนิผูหญิงที่ไมไดแตงงาน หรือไมมีคูเมื่อถึง
                               วัยที่เหมาะสมวา “ขึ้นคาน”
                                     ยิ่งในบริบทเรื่องเพศวิถีแบบรักตางเพศ ยิ่งจะเห็นถึงอํานาจในเรื่องเพศ

                               ที่ผูชายอยูเหนือผูหญิงอยางชัดเจนมาก นั่นคือ การมองวาผูชายควรเปน
                               ผูเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณในเรื่องเพศ ผูชายตองทําหนาที่เปนฝายรุก เปน
                               ผูนําในเรื่องบนเตียงนอน โดยเปาหมายหลักของการมีเพศสัมพันธอยูที่การ
                               “เสร็จ” ของผูชาย หรือการหลั่งน้ําอสุจิหลังบรรลุถึงจุดสุดยอดทางเพศ
                               ขณะเดียวกันสําหรับผูชายบางคนพวกเขายังเชื่อวาการที่ผูหญิงจะ “เสร็จ” หรือ

                               “ไมเสร็จ” ขึ้นอยูกับประสบการณและความชํานาญในเรื่องเพศของเขา
                               มากกวาประสบการณ หรือการมีสวนรวมในเพศสัมพันธของผูหญิงดวย การที่
                               ผูชายจะมีอารมณทางเพศแบบ “หื่น” หรือการผลิตและการบริโภค “สื่อโป”
                               เพื่อกระตุนเราอารมณทางเพศของผูชาย รวมถึงการซื้อบริการทางเพศจาก

                               “โสเภณี” และการ “ขึ้นครู” ลวนแตเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมทางเพศมีผูชาย
                               เปนศูนยกลางทั้งสิ้น
                                     สําหรับในบริบทเพศวิถีของคนรักเพศเดียวกัน อิทธิพลของการใหคุณคา
                               กับความเปนชายเหนือความเปนหญิง คลายกันกับเพศวิถีของคนรักตางเพศ
                               ตรงที่ผูที่สวมบทบาทเปนชาย เชน ทอม หรือเกยคิง มักแตงตัว หรือมีกิริยาทาทาง

                               การแสดงออกเปนชาย และแสดงบทบาทเปนฝายรุกในการมีเพศสัมพันธ
                               นอกจากนั้นในแวดวงของหญิงรักเพศเดียวกันที่แบงบทบาทคูความสัมพันธเปน
                               แบบทอม-ดี้ ก็ยังอาจมองความเจาชูของทอม เชนเดียวกับที่สังคมมีคานิยมตอ

                               ผูชายเจาชูดวย


                                     3. การมีคูเพียงคนเดียว และเพศสัมพันธที่ดีควรมีความรักเปน
                               องคประกอบ
                                     นอกจากเรื่องของเพศวิถีแบบรักตางเพศแลว เพศวิถีที่สังคมใหการ
                               ยอมรับวาเปนเพศวิถีในแบบที่ “ดี” ก็คือ รูปแบบความสัมพันธแบบผัวเดียว


                                                  สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล
   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268   269