Page 273 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 273
258 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
ปญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น หรืออาจตองเผชิญกับการเลือกปฏิบัติของเจาหนาที่
ผูใหบริการ ซึ่งมีอคติกับบุคคลที่มีอัตลักษณทางเพศภาวะ หรือมีอัตลักษณทาง
เพศวิถีที่แตกตาง
ในโลกยุคใหมที่ผูหญิงดูจะมีสถานะทัดเทียมกับผูชายมากขึ้น ผูหญิง
จํานวนมากมีโอกาสไดรับการศึกษา สามารถพึ่งพิงตนเองในทางเศรษฐกิจได
และมีอิสระในการแสดงออกในเรื่องเพศมากขึ้นกวาในสมัยกอน กลุมคนรัก-
เพศเดียวกันแสดงความเปนตัวตนทางสังคมไดอยางเปดเผยมากขึ้น หรือแมแต
ใชเงินซื้อเทคโนโลยีเพื่อปรับเปลี่ยนเพศใหเปนอยางที่ใจตองการได หรือในเรื่อง
ของความกาวหนาดานเทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกวันนี้ “สื่อโป” ปรากฏอยูในสื่อ
ทุกรูปแบบ มีเนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมทางเพศที่ตอบสนองทุกความตองการ
และทุกลักษณะความสัมพันธทางเพศ แตเพราะเหตุใดสังคมที่ดูจะเปดกวาง
ในเรื่องเพศอยางเสรีนี้จึงยังประสบกับปญหาในเรื่องเพศมากมายนับไมถวน
ทั้งปญหาโรคติดตอทางเพศสัมพันธรายแรง ปญหาเรื่องการรังเกียจ กีดกันผูที่มี
เพศภาวะและเพศวิถีที่แตกตาง ปญหาเรื่องสุขภาพอนามัยเจริญพันธุตางๆ
และปญหาเรื่องความรุนแรงทางเพศ
การศึกษาวิเคราะหคําศัพทเกี่ยวกับเพศครั้งนี้ เปนสวนหนึ่งของความ
พยายามในการทบทวน ตรวจสอบ ตั้งคําถามกับระบบความคิดความเชื่อใน
เรื่องเพศของสังคมไทยวาแทจริงแลวสังคมไทยมองเรื่องเพศเปนอยางไร และ
คนเรานั้นมีอิสระเสรีในเรื่องเพศจริงหรือไม โดยหยิบเอาภาษามาเปนสื่อในการ
วิเคราะห นอกจากนี้ยังไดพยายามรื้อสรางระบบคิดเกี่ยวกับเรื่องเพศกระแสหลัก
เพื่อเผยใหเห็นถึงอคติทางเพศที่ซอนอยูในใจของเราทุกคนดวย ทั้งหมดนี้ก็เพื่อ
ที่จะเปนแนวทางในการไปสูการสรางสังคมที่มีสุขภาวะทางเพศที่ดี หรือสังคมที่
คนทุกอัตลักษณทางเพศภาวะ และเพศวิถีจะสามารถอยูรวมกันไดอยางเปนสุข
และเสมอภาค รวมทั้งมีการจัดบริการดานสุขภาวะทางเพศที่เปนมิตร และ
ตอบสนองไดตรงกับความตองการของทุกคนดวย ไมวาคนๆ นั้นจะมีเพศภาวะ
หรือเพศวิถีแบบใดก็ตาม
สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล