Page 274 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 274
บทสงทาย 263
เกี่ยวกับผูเขียน
พิมพวัลย บุญมงคล
รศ.ดร.พิมพวัลย บุญมงคล จบปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยาการแพทย จาก
มหาวิทยาลัยคาลิฟอรเนีย ซานฟรานซิสโก-เบอรกเลย สหรัฐอเมริกา ปจจุบันดํารง
ตําแหนงเปนรองศาสตราจารยสาขามานุษยวิทยาการแพทย ประจําคณะสังคมศาสตร
และมนุษยศาสตร และผูอํานวยการโครงการจัดตั้งสํานักงานศึกษานโยบายสาธารณสุขฯ
มหาวิทยาลัยมหิดล สอนหนังสือใหกับโครงการสังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข
คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และโครงการสตรีศึกษา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และทําวิจัยในประเด็นเพศวิถี เพศภาวะ และสุขภาพทางเพศ
มาโดยตลอด
เปนหนึ่งในคณะกรรมการภาคีความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ดานเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ (คอนซอรเทียม) ดวย โดยเธอและนักวิชาการจาก
มหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอื่นๆ อีก 6 สถาบันไดรวมกันกอตั้ง
คอนซอรเทียมขึ้นในป พ.ศ. 2546 เพื่อพัฒนาองคความรูดานเพศภาวะ เพศวิถี และ
สุขภาพในระดับภูมิภาค ซึ่งนอกจากจะทําหนาที่เปนกรรมการบริหารแลวยังรับ
หนาที่เปนวิทยากรหลักในการอบรมหลักสูตรการสรางภาวะผูนําในเรื่องเพศภาวะ
เพศวิถี และสุขภาพ ทั้งในหลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตรภาษาไทย-ลาวที่จัดโดย
คอนซอรเทียมดวย
สุไลพร ชลวิไล
นักเขียนสารคดี นักกิจกรรม และนักวิจัยอิสระ จบปริญญาโทดานมนุษยวิทยา
เคยทํางานกองบรรณาธิการนิตยสารฝายสารคดี งานองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางาน
เคลื่อนไหวเรื่องสิทธิของคนรักเพศเดียวกัน เปนสมาชิกของคณะทํางานเรื่องผูหญิง
ในงานเอดส สนใจทํางานวิจัยในประเด็นเรื่อง เพศวิถี ผูหญิงรักเพศเดียวกัน และ
เอชไอวี/เอดส ลาสุดเรียบเรียงหนังสือเรื่อง “เพศไมนิ่ง” “เอชไอวี วิถีชุมชน และผูหญิง
มุสลิม” และ “เมื่อผูหญิงเลาเรื่องความรุนแรงและ เอชไอวี/เอดส”
พิมพวัลย บุญมงคล, สุไลพร ชลวิไล, มลฤดี ลาพิมล, รณภูมิ สามัคคีคารมย