Page 272 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 272

บทสงทาย  257

                                     สําหรับการศึกษาวิจัยเรื่องคําศัพทเกี่ยวกับเพศครั้งนี้ วัตถุประสงค
                               สําคัญของงานวิจัยไมไดอยูที่การสรางคํานิยามใหมเกี่ยวกับคําศัพทเรื่องเพศ
                               แตอยางใด หากเปนงานวิจัยที่นําเสนอการวิเคราะหคําศัพทจากมุมมองในเรื่อง

                               เพศภาวะและเพศวิถี เพื่อชี้ใหเห็นถึงวาทกรรมเรื่องเพศกระแสหลักที่แฝงอยู
                               เบื้องหลังถอยคําและการใชภาษา ไปพรอมๆ กับเผยใหเห็นถึงอํานาจของภาษา

                               ที่เขามากํากับความคิดและวิถีปฏิบัติในเรื่องเพศของคนในสังคม ซึ่งทั้งภาษา
                               และเรื่องเพศลวนแตถูกประกอบสรางขึ้นดวยกลไกและกระบวนการทางสังคมที่
                               ซับซอนและแยบยล โดยภาษาสามารถแปรเปลี่ยนความหมาย หรือถูกตีความ
                               ไปไดหลายทาง ขึ้นอยูกับบริบททางดานสังคม วัฒนธรรม กลุมผูที่ใชภาษา

                               และกลุมผูฟงหรือผูรับสารในชวงเวลาตางๆ
                                     อํานาจของภาษาในการกํากับระบบความคิดความเชื่อเรื่องเพศของคน
                               ในสังคม มาจากการที่ภาษาทําหนาที่เผยแพรความคิดในเรื่องเพศกระแสหลัก

                               และถายทอดระบบความคิดความเชื่อนี้จากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึ่ง โดย
                               วาทกรรมเรื่องเพศกระแสหลักที่เชื่อในเรื่องเพศสัมพันธแบบรักตางเพศที่มี
                               เปาหมายเพื่อการสืบพันธุนี้ เกี่ยวของเชื่อมโยงกับปญหาและวิธีคิดในการจัดการ
                               ปญหาเรื่องเพศของสังคมหลายประการ ไมวาจะเปน ปญหาเรื่องความไม

                               เทาเทียมทางเพศระหวางชาย-หญิง ปญหาเรื่องการกีดกัน และเลือกปฏิบัติตอ
                               บุคคลที่มีเพศวิถีและเพศภาวะนอกกรอบ ปญหาเรื่องการใชความรุนแรง ทางเพศ
                                     ประเด็นสําคัญที่สุดประเด็นหนึ่งซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้พยายามจะชี้ใหเห็นก็

                               คือ ระบบความคิดความเชื่อเรื่องเพศกระแสหลักนี้สงผลตอสุขภาวะทางเพศ
                               ของผูคนในสังคมเปนอยางมาก เนื่องจากในทางปฏิบัตินั้นคนแตละคนตางก็
                               ไมไดยอมจํานน หรือปฏิบัติตามคานิยมความเชื่อเรื่องเพศกระแสหลักเสมอไป

                               หลายตอหลายคนมีการแสดงออกทางเพศภาวะ และมีวิถีปฏิบัติทางเพศที่
                               ตอตานขัดขืนและตอรองกับอํานาจของวาทกรรมนี้อยูตลอดเวลาดวยซ้ํา
                               และเมื่อพวกเขาตองประสบกับปญหาดานสุขภาพทางเพศ และตองไปเขารับ

                               บริการสุขภาพจากสถานบริการของรัฐ หากเจาหนาที่ผูใหบริการมีมุมมองและ
                               บรรทัดฐานทางเพศไมสอดคลองกับเพศวิถี และอัตลักษณดานเพศภาวะของ
                               ผูมารับบริการยอมทําใหไมไดรับบริการสุขภาวะทางเพศที่ตรงกับความตองการ
                               หรือตรงกับปญหา เนื่องจากผูรับบริการอาจไมกลาบอกถึงสาเหตุที่แทจริงของ


                                                  สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล
   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277