Page 268 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 268
บทสงทาย 253
ในงานวิจัยคําศัพทเกี่ยวกับเรื่องเพศนี้ นอกจากตองการจะชี้ใหเห็นถึง
ที่มาของระบบคิดของสังคมไทยเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะและเพศวิถีแลว ทีมวิจัย
ยังไดพยายามวิเคราะหใหเห็นถึงปญหา หรือผลกระทบทางดานสุขภาวะทางเพศ
ที่ตามมาอันเนื่องมาจากระบบคิดในเรื่องเพศกระแสหลักดวย ไมวาจะเปน
ปญหาเรื่องการตีตรา การละเมิดสิทธิ หรือใชความรุนแรงกับผูที่มีเพศภาวะ
หรือเพศวิถีที่ไมเปนไปตามระบบเพศภาวะ เพศวิถีกระแสหลักอันไดแก กลุม
คนรักเพศเดียวกัน กลุมผูที่ขายบริการทางเพศ ปญหาเรื่องการใหคุณคากับ
ความเปนชายเหนือความเปนหญิงในเรื่องเพศ หรือปญหาในเรื่องการจัดบริการ
ทางดานอนามัยเจริญพันธุและดานสุขภาวะทางเพศซึ่งตอบสนองไดไมตรงกับ
ความตองการของผูรับบริการ เพราะผูบริการขาดความเขาใจ และขาดความ
ตระหนักถึงความแตกตางหลากหลายของเพศภาวะ และเพศวิถี
ผลกระทบหรือปญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมดนี้เปนผลมาจากฐานคิด ทัศนคติ
คานิยม และองคความรูในเรื่องเพศที่ยึดมั่นในระบบ 2 เพศภาวะ 1 เพศวิถี
ขณะเดียวกันก็ปฏิเสธระบบเพศภาวะและเพศวิถีอื่นๆ ที่แตกตางออกไปจาก
ระบบนี้ ในทํานองเดียวกับมุมมองในเรื่องภาษาที่เชื่อวาคําพูดหนึ่งคําสื่อถึง
ความหมายที่เปนแกนแทอยูเพียงความหมายเดียวเทานั้น (ขณะเดียวกันก็ตัด
เอาความหมายที่ใกลเคียงอื่นๆ ออกไปหมด) ทั้งที่ในความเปนจริงปรากฏการณ
เรื่องเพศในสังคมปจจุบันไดแสดงใหเห็นถึงการที่ผูคนมีอัตลักษณทางเพศภาวะ
และเพศวิถีอยางแตกตางหลากหลาย ดังจะเห็นไดจากการปรากฏตัวในพื้นที่
ทางสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ ของกลุมอัตลักษณทางเพศภาวะอื่นๆ นอกจาก
ชายและหญิง (อยางสาวประเภทสอง) รวมถึงกลุมบุคคลรักเพศเดียวกันที่ไมไดมี
เพศวิถีเปนไปตามเพศวิถีกระแสหลัก นอกจากนี้อัตลักษณทางเพศนี้ยังเปนสิ่งที่
ไมตายตัว หรือหยุดนิ่งอยูกับที่ ในทางตรงกันขามอัตลักษณทางเพศภาวะและ
เพศวิถีนี้สามารถจะเลื่อนไหล หรือแปรเปลี่ยนกลับไปกลับมาไดตลอดเวลา
อันเปนเครื่องยืนยันถึงแนวคิดเรื่องอัตลักษณทางเพศของบุคคลวาเปนสิ่งที่
เกิดขึ้นจากการประกอบสรางทางสังคม ไมใชเปนสิ่งที่ติดตัวคนเรามาพรอมกับ
อวัยวะเพศตั้งแตกําเนิด ดังเชน การเชื่อมโยงกลุมคําศัพทของกะเทยกับคําศัพท
อื่นๆ ในกลุมคําศัพทเดียวกัน ไดแก สาวเสียบ สาวประเภทสองไดพยายามรื้อ
สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล