Page 266 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 266
บทสงทาย 251
กรอบการมีความสัมพันธแบบผัวเดียวเมียเดียว โดยใหความสําคัญกับความรัก
เปนพื้นฐาน และระบบคิดเรื่องเพศเชนนี้ดํารงอยูโดยไดรับการสนับสนุนค้ําจุน
จากหลักคําสอนทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีปฏิบัติทางสังคม และชุดคํา
อธิบายทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพทั้งดานการแพทย และจิตวิทยา
ดวยเหตุนี้บุคคลที่ “คิดตาง” มีอัตลักษณทางเพศที่ “ตาง” หรือมีเพศวิถี
ที่แตกตางจากระบบความคิดความเชื่อเรื่องเพศกระแสหลักดังที่กลาวมานี้ ก็จะ
ถูกตัดสินวาเปนผูที่มีเพศวิถีนอกกรอบ ผลก็คือนอกจากสังคมจะไมใหการ
ยอมรับแลว ยังอาจตีตราวาเปนผูมีความผิดปกติ เบี่ยงเบนทางเพศ เปนปญหา
สังคมที่จําเปนตองดําเนินการแกไข หรือลงโทษเพื่อไมใหเปนตัวอยางที่ไมดี
สําหรับเยาวชนในสังคม
ความเปนกลางและความเปนธรรมดาในภาษาเพศ
การพูดเรื่องเพศเปนเรื่องที่พูดกันในชีวิตประจําวันของผูคนและหลายๆ
คํามีความหมายเปนกลาง ไมไดเปนสิ่งสกปรก หยาบคาย หรือกดทับเพศใด
เพศหนึ่ง เชน คําวา เอากัน อึ๊บกัน ปกัน ซึ่งเปนคําพูดในภาษาไทยที่ใชกัน
อยางไมเปนทางการในหมูเพื่อนฝูงและมีความหมายถึงการยินยอมพรอมใจกัน
ทั้งสองฝาย หรือแมกระทั่งคําวา มีเซ็กส ซึ่งเปนคําที่มักถูกใชในความเปนทาง
การมากกวาก็เปนคําที่เปนกลางและมักหมายถึงความยินยอมพรอมใจ คําชุด
ดังกลาวขางตนจะแตกตางกับกลุมคําที่มีความหมายเดียวกัน แตมีนัยยะความ
หมายซอนความไมเทาเทียมกันทางเพศอยู ซึ่งไดแก ไดเสียกัน หรือเสียตัว ซึ่ง
ผูชายมักเปนผูได หรือไมเสียชื่อเสียง ขณะที่ฝายหญิงจะเปนฝายเสียหายใน
ความสัมพันธทางเพศของตน
ในกลุมคําสรีระทางเพศของผูหญิงก็เชนกัน ทีมวิจัยไดรวบรวมคําตางๆ ที่
มีความหมายเปนกลางๆ ไดแก จิ๋ม เคย เปด (สองคํานี้ใชในภาคใต) แมแตคําวาหี
จะเปนคําที่ดูเปนกลาง และไมหยาบคายเลยเมื่อชาวชนบทใชคํานี้สื่อสารกัน
หรือในหมูกะเทยก็ใชคํานี้เชนกัน เชน กะเทยจะถามคนที่ไปผาตัดแปลงเพศมา
วา “ขอดูหีเธอหนอย” เปนตน แมกระทั่งคําวา “กิ๊ก” ซึ่งหมายถึงคูความสัมพันธ
คนอื่นๆ ที่ไมใชคูถาวรของตน การใชคํานี้แพรหลายบงบอกการยกระดับใหการมี
คูความสัมพันธแบบฉาบฉวย หรือการมีคูความสัมพันธมากกวาหนึ่งทั้งหญิงและ
ชายเปนเรื่องปกติธรรมดานั่นเองซึ่งมีการใชกันแพรหลายมากขึ้นในทุกเพศและวัย
สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล