Page 271 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 271

256  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     ผูหญิงถูกคาดหวังจากสังคมอยางมากวา จะตองเปนทั้งเมียที่บริสุทธิ์
                               ซื่อสัตย และภักดีตอสามี เปนทั้งแมที่ดีของลูก และเปนแมศรีเรือนที่ตองคอย
                               ดูแลจัดการงานบานไมใหขาดตกบกพรอง ผูหญิงตองรักษา “พรหมจรรย”

                               ไวใหกับผูชายที่ตนรักและจะแตงงานกับคนเพียงคนเดียวเทานั้น นอกจากนี้ยังตอง
                               “รักนวลสงวนตัว” ตั้งแตกอนแตงงาน จนแมกระทั่งแตงงานไปก็ตองรักษาตัว
                               ไวใหกับสามีเพียงคนเดียว ผูหญิงที่ดียังถูกคาดหวังอีกดวยวาจะตองไมพูดคุย
                               เรื่องเพศ ไมแตงตัว “โป”  ไมแสดงความสนใจใครรูในเรื่องเพศ หรือแสดงอารมณ

                               ความปรารถนา ความรูสึกทางเพศออกมาใหใครไดเห็น ไมเปนฝายเริ่มตนหรือ
                               ชักชวนในการมีเพศสัมพันธกอน และตองไมรักใครชอบพอ หรือมีเพศสัมพันธ
                               กับเพศเดียวกัน ขณะเดียวกันผูหญิงที่ดียอมตองไมอยูเปนโสด เพราะนั่นหมาย
                               ถึงการที่ผูหญิงคนนั้นขาดคุณสมบัติของความเปนผูหญิงที่ดีที่นาสนใจจนตอง
                               “ขึ้นคาน” ไมมีผูชายมาสูขอ นอกจากนั้นความเปนผูหญิงที่ดีหรือไมดียังถูก

                               ตีราคาออกมาเปนมูลคาของ “สินสอด” ที่มอบใหกับพอแมของผูหญิง เปนการ
                               แสดงถึงการที่ผูหญิงยังคงตองตกอยูภายใตกรอบของคานิยมทางสังคม
                               ประเพณี ตองเคารพเชื่อฟง และกตัญูตอบิดามารดา หรืออาจกลาวไดวา
                               ผูหญิงไมมีอิสระในการตัดสินใจดวยตนเองอยางแทจริงดวย

                                     ในเวลาเดียวกันผูชายเองก็ตองแบกรับความกดดันจากความคาดหวัง
                               ของสังคมไมนอย ความเชื่อที่วาผูชายมีแรงขับทางเพศสูงที่จะตองปลดปลอย
                               บวกกับการถูกคาดหวังวาผูชายควรจะตองเปนผูนําในทุกๆ เรื่อง ทั้งการเปน
                               ผูนําครอบครัว และผูนําในเรื่องเพศ ดวยเหตุนี้พฤติกรรมการเสพ “สื่อโป”
                               การ “ขึ้นครู” หรือ การแสดงความ “เจาชู” ของผูชายจึงเปนทั้งการแสดงออก

                               ซึ่งอิสระทางเพศ และเปนสวนหนึ่งของกระบวนการสราง “ความเปนชาย”
                               เพื่อใหไดรับการยอมรับนับถือจากกลุมเพื่อนผูชายดวยกัน ผูชายที่ไมสวม
                               บทบาทความเปนชายอยางที่สังคมคาดหวัง (เชน ผูชายที่แตงตัวเปนผูหญิง

                               ผูชายที่แปลงเพศ หรือ ผูชายที่รักเพศเดียวกัน) หรือมีพฤติกรรมทางเพศ
                               นอกกรอบ (เชน มีเพศสัมพันธทางทวารหนัก นิยมการแลกเปลี่ยนคูนอน หรือ
                               หมดสมรรถภาพทางเพศ) ก็จะถูกสังคมตําหนิ ตีตรา ไมตางจากผ ูมีเพศภาวะ
                               และเพศวิถีนอกรอบกลุมอื่นๆ แตถึงแมวาผูชายจะถูกคาดหวังจากสังคมเปน
                               อยางมากก็ตาม ผูชายไมวาจะเปนชายรักตางเพศ หรือรักเพศเดียวกัน ก็ยังมี

                               อิสระ และมีพื้นที่ใหแสดงอารมณ ความปรารถนาทางเพศไดมากกวาผูหญิง

                                                   สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล
   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276