Page 262 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 262

บทสงทาย  247

                               และอวัยวะเพศหญิง รวมถึงผูที่ไปทําการผาตัดแปลงเพศ ก็ไมมีชื่อเรียก
                               อวัยวะเพศ หรือลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปดวยเชนกัน
                                     นอกจากนี้สังคมไทยก็ยังแบงเพศภาวะ หรือคุณลักษณะของความเปนเพศ

                               ที่ถูกสรางและหลอหลอมโดยสังคมออกเปนแค 2 เพศภาวะดวยเชนกัน คือ
                               คุณลักษณะ(และบทบาท)ความเปนหญิง และคุณลักษณะ (และบทบาท)

                               ความเปนชาย ซึ่งโดยทั่วไปคุณลักษณะและบทบาทความเปนหญิง-ความเปน
                               ชายเหลานี้ ถูกมองวามีความสัมพันธกับอวัยวะเพศแตละแบบ กลาวคือ ผูที่
                               เกิดมามีอวัยวะเพศหญิง ก็จะตองมีอัตลักษณทางเพศ หรือมีคุณลักษณะความ
                               เปนหญิง ไดแก แตงตัวดวยเสื้อผาแบบผูหญิง มีกิริยามารยาทแบบผูหญิง มี

                               สัญชาติญาณของความเปนแมโดยธรรมชาติ ออนโยน ออนแอ มีแรงขับทางเพศ
                               นอยกวาผูชาย และรับบทบาทเปนฝายรับในเวลามีเพศสัมพันธ ขณะที่ผูที่เกิดมา
                               มีอวัยวะเพศชาย ตองมีอัตลักษณทางเพศ หรือมีคุณลักษณะของความเปนชาย

                               ไดแก แตงตัวดวยเสื้อผาแบบผูชาย มีความเขมแข็ง มีพละกําลังแข็งแรง มี
                               สัญชาติญาณของความเปนผูนํา มีแรงขับทางเพศมากกวาผูหญิง และรับบทบาท
                               เปนฝายรุกในเวลามีเพศสัมพันธ เปนตน ดวยเหตุนี้ผูที่เกิดมาพรอมกับอวัยวะเพศ
                               แบบใดแบบหนึ่ง แตแสดงกิริยา แตงตัว หรือมีบทบาทเปนอีกแบบหนึ่ง ซึ่งตรง

                               กันขามกับอวัยวะเพศโดยกําเนิดของตนเอง ก็จะไมไดรับการยอมรับ และถูกตีตรา
                               วาเปนผูที่มีความผิดปกติ
                                     ขณะเดียวกันภายใตระบบ 2 เพศภาวะนี้ ยังจํากัดการรับรูในเรื่อง

                               คุณลักษณะความเปนเพศของคนไวแค 2 รูปแบบเทานั้นดวย หมายถึง บุคคล
                               ไมวาจะถือกําเนิดมาดวยเพศสรีระแบบใดก็ตาม ไมวาพวกเขาจะพึงพอใจใน
                               บทบาทความเปนเพศตามสรีระของตนหรือไม พวกเขาก็จะตองสวมบทบาทไม

                               เปนชาย ก็ตองเปนหญิง อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น ทั้งนี้เพราะสังคมมองไมเห็น
                               หรือไมสามารถจะยอมรับคุณลักษณะความเปนเพศแบบอื่นๆ นอกเหนือไปจาก
                               เพศภาวะ 2 แบบนี้ได

                                     สําหรับในเรื่องของเพศวิถี หรือเรื่องของระบบความคิดความเชื่อ รสนิยม
                               ความปรารถนาทางเพศ (Sexual Desire) และความโนมเอียงทางเพศ (Sexual
                               Orientation) สังคมไทยยอมรับในรูปแบบเพศวิถีแบบเดียวเทานั้น คือ การให
                               คุณคากับความโนมเอียงทางเพศแบบชอบเพศตรงขาม หรือการมีความปรารถนา


                                                  สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล
   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267