Page 260 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 260
บทสงทาย 245
แบบใดแบบหนึ่งวาเปนอยางไรเทานั้น แตยังไดสะทอนใหเห็นถึงภูมิหลัง
ทางดานเพศภาวะ วัย อายุ ชนชั้น การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ และพื้นเพ
ของผูใชคํานั้น รวมทั้งบอกถึงบรรทัดฐาน คานิยม ระบบความคิด ความเชื่อ
เกี่ยวกับเรื่องเพศในสังคม และวัฒนธรรมที่ใชภาษานั้นๆ ไปในเวลาเดียวกันดวย
นอกจากนี้ภาษาที่ใชในการสื่อสารความหมายในเรื่องเพศยังมีหลาย
ระดับ ตั้งแตภาษาแบบชาวบานๆ (ซึ่งอาจฟงดูหยาบคาย และไมสุภาพ) ภาษา
ที่สื่อมวลชนนิยมใช ภาษาแสลง ภาษาวัยรุน ไปจนกระทั่งถึงภาษาทางการ
(หรือภาษาที่ใชในแวดวงวิชาการทางการแพทย)
และถามองในแงของวิวัฒนาการในการใชคํา ก็จะเห็นทั้งคําศัพทดั้งเดิม
ซึ่งใชกันมานานแลว คําศัพทบัญญัติใหมที่นําเสนอมุมมองใหมๆ ในเรื่องเพศ
เปนการตอรองกับความหมายของคําเดิมซึ่งเต็มไปดวยอคติ และแสดงถึงความ
เหลื่อมล้ําทางเพศ รวมถึงคําทับศัพทภาษาอังกฤษ ซึ่งแฝงนัยวารูปแบบการมี
พฤติกรรมทางเพศเชนนี้ไมเคยถูกเปดเผยในสังคมไทยมากอน หรือไมก็เปน
คานิยมในเรื่องเพศที่ไดรับอิทธิพลมาจากคานิยมเรื่องเพศแบบตะวันตก
สังคมไทยจึงไมมีคําเรียกพฤติกรรมทางเพศเชนนี้
สวนในเรื่องของนิยามความหมาย จะสรุปวิเคราะหโดยใชแนวคิดทฤษฎี
เรื่องการรื้อสราง (Deconstruction Theory) ซึ่งอธิบายวาคําๆ หนึ่งโดยตัวมันเอง
ไมไดมีความหมายที่ชัดเจนตายตัวเพียงความหมายเดียว หากเปนสวนหนึ่ง
ของการโยงใยความหมายมากมายในระบบโครงสรางของภาษา การที่คําหนึ่ง
สื่อถึงความหมายอยางใดอยางหนึ่งออกมา เทากับวาในเวลาเดียวกันมันได
ละเอาความหมายอื่นๆ อีกหลายความหมายที่ตางกันออกไปไวในคําๆ นั้นเอง
2
ดวย ความหมายของคําจึงเปนมีความลื่นไหล ไมหยุดนิ่ง และเปลี่ยนแปลงไป
ตามบริบทตางๆ อยางเชน คําวา ขุนแผน อาจหมายถึงชื่อตัวละครเอกใน
วรรณคดีไทยเรื่องหนึ่ง (ซึ่งไมใช พระอภัยมณี อิเหนา ฯลฯ) หรือ หมายถึงผูชาย
ที่เจาชูก็ได (อาจหมายถึงผูชายที่ชอบหวานเสนหใสผูหญิงหลายๆ คน ชอบจีบ
2 ความหมายของคําจึงไมใชแคการแสดงถึงความหมายอยางหนึ่ง ซึ่งตรงกันขามกับความหมายอีก
อยางหนึ่ง (ซึ่งถูกละไวในฐานที่เขาใจ) หรือการมองเห็นทุกสิ่งแบบมุมมองที่เปนสองขั้วตรงขาม
(Binary Opposition) หากเปนสิ่งที่ลื่นไหลไปมาไมหยุดนิ่ง และไมสิ้นสุด
สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล