Page 259 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 259

244  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               ปรารถนาทางเพศ  (หื่น เสร็จ) การมี เพศสัมพันธในรูปแบบตางๆ (ชวย
                               ตัวเอง เอากัน ใชปาก ตุย สวิงกิ้ง) และคําที่รวมเอาความหมายของคําทุกคํา
                               เอาไวภายใตคําๆ เดียว ซึ่งยากตอการตีความอยางคําวา “เรื่องเพศ”
                                     รูปแบบในการวิเคราะหคําศัพทแตละคํา จะเริ่มจากการใหนิยาม

                               ความหมาย และความเปนมาของการใชคําในมิติของภาษา ในแงของ
                               ความสัมพันธระหวางคํา กับกลุมคนผูสรางคํา หรือผูใชคําๆ นั้น รวมถึงการ
                               นําเอาคําศัพทที่มีความหมายใกลเคียงกันมาเทียบเคียงใหเห็นถึงการโยงใย
                               ความหมาย จากนั้นจะเปนการรื้อสรางความหมายของคําศัพทคํานั้น โดยใช

                               แนวคิดทฤษฎีทางดานเพศภาวะ และเพศวิถีเปนหลัก รวมทั้งเผยใหเห็นถึง
                               ผลกระทบทางดานสุขภาวะทางเพศที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากมายาคติเรื่องเพศ
                               ที่ถูกครอบงําโดยสังคมในระบอบชายเปนใหญ โดยในบทนี้ จะปนการสรุป
                               ภาพรวมทั้งหมดของงานวิจัย ซึ่งจะวิเคราะหใหเห็นถึงอํานาจของถอยคําและ
                               ภาษาในการผลิตวาทกรรม หรือชุดความรูความจริงบางอยางเกี่ยวกับเรื่องเพศ

                               โดยวิเคราะหและรื้อสรางความหมายของคํา เพื่อเผยใหเห็นถึงการทํางาน
                               ของสถาบันทางสังคมตางๆ ในการผลิตซ้ํา และตอกย้ําใหวาทกรรม หรือชุด
                               ความหมายเกี่ยวกับเรื่องเพศนี้ ไดรับการสถาปนาเปนชุดความรูความจริง
                               กระแสหลักของสังคมในเเรื่องเพศดวย นอกจากนั้นยังชี้ใหเห็นคําศัพทเรื่องเพศที่มี
                               ความเปนกลาง ซึ่งสะทอนการพูดเรื่องเพศวาเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวัน

                               ของผูคน และสุดทายการวิเคราะหยังชี้ใหเห็นถึงการที่ผูคนในสังคมสราง
                               และใชภาษาเพื่อการชวงชิงพื้นที่และอํานาจของตนเอง ดังเชน แฟรคลาฟ
                                             1
                               (Fairclough 1992)  ศาสตราจารยทางภาษาในชีวิตทางสังคมกลาววา ภาษาจะ
                               ถูกใหคุณคาหรือถูกลดคุณคากับสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นอยูกับอํานาจของผูใชภาษาเอง



                               เรื่องเพศที่ถูกกํากับโดยภาษา


                                     สําหรับในงานวิจัยนี้ทีมวิจัยตองการชี้ใหเห็นวา ภาษาที่คนเราใชสื่อสาร
                               อยูตลอดเวลาในเรื่องเพศนั้น ตัวภาษาเองไมไดทําหนาที่แคเพียงสื่อความหมาย

                               หรือใหนิยามกับอวัยวะเพศ กิจกรรมทางเพศ หรือรูปแบบความสัมพันธทางเพศ

                               1  Fairclough, Norman, (1992). Discourse and Social Change. Cambridge, UK:Polity Press.

                                                   สุไลพร ชลวิไล, พิมพวัลย บุญมงคล
   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264