Page 81 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 81

64



                       ส้าหรับแหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าเสื่อมโทรม 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) ล้าตะคองตอนล่าง (2) แม่น้้า
                       เจ้าพระยาตอนล่าง (3) ท่าจีนตอนล่าง (4) พังราดตอนบน และ (5) ท่าจีนตอนกลาง (ส้านักงาน

                       นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562)

                              การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้้าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2552-2561) พบว่า คุณภาพน้้าของ
                       แหล่งน้้าผิวดินในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ปัจจุบันไม่พบแหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าอยู่ใน

                       เกณฑ์ดีมาก และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ไม่มีแหล่งน้้าที่อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก โดยแนวโน้มการ

                       เปลี่ยนแปลงคุณภาพน้้าค่อนข้างดีขึ้น (แผนภูมิที่ 4.3) แหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าดีมาโดยตลอด ได้แก่
                       แม่น้้าตาปีตอนบน แควน้อย และล้าชี แหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าพอใช้มาโดยตลอด ได้แก่ แม่น้้าบางปะ

                       กง แม่กลอง และน้อย แหล่งน้้าที่มีแนวโน้มคุณภาพน้้าเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและต้องเฝ้าระวังและ

                       ด้าเนินการแก้ไขปัญหา ได้แก่ แม่น้้าเจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนล่าง ลพบุรี พังราดตอนบน และล้า
                       ตะคองตอนล่าง ส้าหรับสาเหตุที่ส่งผลให้มีคุณภาพน้้าเสื่อมโทรม อาจมาจากช่วงที่แม่น้้าไหลผ่านพื้นที่

                       ชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น เขตอุตสาหกรรม และปากแม่น้้าสายหลัก (ส้านักงานนโยบายและ

                       แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562) ส้าหรับปัญหาการรุกล้้าของน้้าเค็ม เกิดขึ้นในตอนล่าง
                       ของแม่น้้าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง และแม่กลอง ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อการเพาะปลูกพืช

                       การประปา การประมง การอุตสาหกรรม ตลอดจนการอุปโภค-บริโภคน้้าของราษฎรที่อยู่ริมฝั่งแม่น้้า

                       การจัดสรรน้้าเพื่อผลักดันน้้าเค็ม เป็นการจัดสรรน้้าจากแหล่งเก็บน้้าในพื้นที่ตอนบนของลุ่มน้้า เช่น
                       จากเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนป่าสัก เขื่อนขุนด่านปราการชล เขื่อนศรีนครินทร์ และเขื่อน

                       วชิราลงกรณ์ ในฤดูแล้งปีละมากกว่า 2,800 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อควบคุมความเค็มของน้้า ณ จุดควบคุม

                       ไม่ให้เกินมาตรฐานของการเกษตรและการประปา (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)



























                              แผนภูมิที่ 4.3  แนวโน้มสถานการณ์คุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดิน พ.ศ. 2552-2561

                                 ที่มา: ส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2562)
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86