Page 77 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 77

60



                       ขณะเดียวกัน ตลอดช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2548-2557) ประเทศไทยมีพื้นที่แล้งซ้้าซากเพิ่ม
                       มากขึ้น เนื่องจากฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนตกไม่เป็นไปตามฤดูกาล ซึ่งพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งในระดับ

                       ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ สภาพดิน ปริมาณฝน ในปี พ.ศ. 2560 พบว่า มีพื้นที่เสี่ยงภัยใน

                       ระดับรุนแรง (ตั้งแต่ 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ 6 ปี) และระดับปานกลาง (เกิด 4-5 ครั้งในรอบ 10 ปี)
                       มีพื้นที่รวมประมาณ 26.8 ล้านไร่ ส้าหรับปัญหาการขาดแคลนน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภคพบว่า

                       หมู่บ้านทั้งประเทศไทย จ้านวน 75,032 หมู่บ้าน มีปัญหาไม่มีระบบประปา 256 หมู่บ้าน ระบบ

                       ประปาช้ารุดและขาดประสิทธิภาพ 20,034 หมู่บ้าน (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562) และใน
                       ปี พ.ศ. 2561 พบว่าพื้นที่เสี่ยงภัยในระดับรุนแรง (ตั้งแต่ 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ 6 ปี) ประมาณ 2.6 ล้านไร่

                       และระดับปานกลาง (เกิด 4-5 ครั้งในรอบ 10 ปี) ประมาณ 18.63 ล้านไร่ โดยส่วนใหญ่พื้นที่ที่พบ

                       ปัญหาภัยแล้งซ้้าซากคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาพที่ 4.1) (กรมพัฒนาที่ดิน, 2562ก)
















































                                         ภาพที่ 4.1  พื้นที่แล้งซ้้าซากประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561

                                                   ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2562ก)
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82