Page 85 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 85
68
อยู่อาศัยเพียงร้อยละ 5 (ประมาณ 0.4 หมื่นไร่) และสามารถท้าการเกษตรได้เพียงร้อยละ 15
(ประมาณ 1 หมื่นไร่) เท่านั้น (ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า – ประเทศไทย, 2557)
ภาพที่ 4.3 ล้าน้้าแม่ทาที่ไหลผ่านชุมชนต้าบลแม่ทา อ้าเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
ที่มา: ดัดแปลงจาก ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า – ประเทศไทย (2557)
“น าแม่ทา” ถือเป็นล้าน้้าสายหลักและเป็นแหล่งทรัพยากรน้้าที่ส้าคัญที่สุดในพื้นที่ชุมชนต้าบล
แม่ทา มีความยาวตลอดล้าน้้าในช่วงที่ผ่านต้าบลแม่ทา รวมระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร และยังมี
แหล่งน้้าธรรมชาติสายรองอื่น ๆ (ล้าน้้าสาขา) ซึ่งไหลลงสู่น้้าแม่ทา เช่น ห้วยน้้าขุ่น ห้วยแม่บอน ห้วยปงกา
และห้วยแม่เลาะ เป็นต้น (บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล และคณะ, 2557; ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า –
ประเทศไทย, 2557) จากนั้น ล้าน้้าแม่ทาจะไหลผ่านต้าบลทาเหนือ ต้าบลแม่ทา ต้าบลทาปลาดุก ผ่าน
เขตจังหวัดล้าพูน และไหลลงสู่แม่น้้าปิง รวมระยะทางประมาณ 95 กิโลเมตร (ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อ
คนกับป่า – ประเทศไทย, 2557) นอกจากล้าน้้าแม่ทาแล้ว ต้าบลแม่ทายังมีแหล่งกักเก็บน้้าขนาดใหญ่
2 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้้าห้วยน้้าขุ่น และอ่างเก็บน้้าห้วยแม่บอน ซึ่งมีความส้าคัญอย่างยิ่งต่อการท้า
การเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ทั้งนี้ ชุมชนต้าบลแม่ทายังมีแหล่งทรัพยากรน้้าอื่น ๆ ได้แก่ บ่อบาดาล จ้านวน
11 บ่อ (อยู่ในเขตพื้นที่ราบลุ่มทั้งหมด) ฝายไม้และฝายคอนกรีต จ้านวน 44 ฝาย (อยู่ในพื้นที่ราบลุ่ม
28 ฝายและในพื้นที่ดอน 18 ฝาย) สระน้้าตามหัวไร่ปลายนา (ภายใต้โครงการขุดสระน้้านอกเขต
ชลประทานของกรมพัฒนาที่ดิน) เพื่อใช้อุปโภค-บริโภคหรือเพื่อใช้ในภาคการเกษตร (บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล
และคณะ, 2557)