Page 84 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 84

67



                       เป็นเอกสาร และเผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้ ทั้งนี้ แนว
                       ปฏิบัติที่ดีย่อมเกิดจากการขับเคลื่อนที่ส้าคัญ 3 ประการ ได้แก่ (1) บุคคล เป็นผู้ด้าเนินการส้าคัญอัน

                       ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีขึ้นด้วยการเรียนรู้ การเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อการกระท้าใด ๆ ประสบ

                       ความส้าเร็จตามเป้าหมายที่ก้าหนดไว้ (2) อุปสรรค การท้างานต่าง ๆ ย่อมมีอุปสรรคต่าง ๆ ที่เป็นตัว
                       ขัดขวางไม่ให้งานเป็นไปตามเป้าหมายที่มุ่งหวังเอาไว้ ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จัดเป็นตัวกระตุ้นให้เราเกิด

                       การแสวงหาแนวทาง กระบวนการในการแก้ปัญหา เพื่อผ่านอุปสรรคไปให้ได้ และ (3) แรงบันดาลใจ

                       ที่ต้องการพัฒนาหรือค้นหาวิธีการใหม่ ๆ เพื่อสร้างประสิทธิภาพที่ดีกว่าเดิม ดังนั้น แนวปฏิบัติที่ดี
                       ส้าหรับการจัดการทรัพยากรน้้าด้วยแนวทางสันติวิธีตามหลักสิทธิมนุษยชนในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการ

                       สะท้อนวิธีการปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรน้้าของประเทศไทยที่ด้าเนินการภายใต้แนวทางสันติวิธี

                       ซึ่งเป็นแนวทางในการต่อสู้หรือการกระท้าเพื่อให้ได้ชัยชนะที่เป็นไปตามข้อเรียกร้องของตนเองหรือ
                       ของมวลสมาชิก โดยแนวทางดังกล่าวเป็นแนวทางที่ปราศจากความรุนแรง ไม่ท้าลายชีวิตและ

                       ทรัพย์สิน (สุวัฒ ดวงแสนพุด, 2555) พร้อมให้สิทธิแก่ชุมชนที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อ

                       ทรัพยากรน้้านั้น ๆ โดยก้าหนดขอบเขตการจัดการทรัพยากรน้้าในเขตลุ่มน้้าด้วยตัวอย่างพื้นที่
                       ด้าเนินการ 3 กรณีศึกษา ดังนี้



                              4.3.1 ชุมชนต าบลแม่ทา อ าเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
                              ข้อมูลทั่วไป ชุมชนในต้าบลแม่ทาเป็นชุมชนเก่าแก่มีอายุมากกว่า 300 ปี จากประวัติศาสตร์

                       ของชุมชนสันนิษฐานว่าผู้ก่อตั้งชุมชนในระยะเริ่มแรกเป็นผู้คนที่อพยพหนีสงครามระหว่างไทยและพม่า

                       หลังจากนั้นจึงมีชนเผ่าต่าง ๆ อพยพเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มเติมในราวปี พ.ศ. 2333 เช่น ชนเผ่าลั๊วะขุนซึ่ง
                       อาจอพยพมาจากเมืองเชียงใหม่เนื่องจากหนีภัยสงคราม ชนเผ่าเชียงแสนอพยพมาจากตอนเหนือของ

                       เชียงรายเนื่องจากภัยแล้ง นอกจากนี้ยังมีชนเผ่าละกอน (ล้าปาง) ชนเผ่ายองและขมุ (เขมร) เป็นกลุ่ม

                       ที่เข้ามาช่วงหลังสุดเพื่อรับจ้างตัดไม้ แล้วตั้งรกรากอยู่ที่ต้าบลแม่ทาโดยตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งน้้าแม่ทา
                       ตลอดสายและสืบลูกหลานมาจนถึงปัจจุบัน (ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า – ประเทศไทย, 2557)

                              ต้าบลแม่ทามีขอบเขตการปกครองครอบคลุม 7 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1 บ้านทาม่อน หมู่ 2 บ้าน

                       ท่าข้าม หมู่ 3 บ้านค้อกลาง หมู่ 4 บ้านห้วยทราย หมู่ 5 บ้านป่าน๊อต หมู่ 6 บ้านทาดอนชัย และหมู่ 7
                       บ้านใหม่ดอนชัย อยู่ในพื้นที่อ้าเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ (ภาพที่ 4.3) โดยมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ

                       72,794 ไร่ หรือประมาณ 116.47 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่หรือประมาณร้อยละ 80 (ประมาณ

                       5.8 หมื่นไร่) มีสภาพเป็นภูเขาสูง มีความสูงจากระดับน้้าทะเลระหว่าง 500-1,200 เมตร ประกอบด้วย
                       ป่า 3 ประเภทคือ ป่าดิบแล้ง เต็งรัง และป่าเบญจพรรณที่มีไม้สักและไผ่หลายชนิดขึ้นปะปน พื้นที่ป่า

                       ชุมชนที่เป็นป่าใช้สอยอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่ทา ส่วนพื้นที่ป่าชุมชนอนุรักษ์บางส่วนอยู่ใน
                       เขตเตรียมประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้ ขณะที่พื้นที่ราบมีขอบเขตจ้ากัด โดยแบ่งเป็นพื้นที่
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89