Page 83 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 83

66



                              - น้้าทะเลหนุนกับการเกษตร เขตพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ เช่น อ้าเภอบางเลนและอ้าเภอพุทธ
                       มณฑล จังหวัดนครปฐม อ้าเภอไทรน้อย อ้าเภอบางใหญ่ อ้าเภอบางกรวย และอ้าเภอเมือง จังหวัด

                       นนทบุรี โดยพื้นที่ดังกล่าวเป็นแหล่งผลิตกล้วยไม้ (สกุลหวาย) ส่งออกที่ส้าคัญแห่งหนึ่งของไทย เมื่อมี

                       น้้าทะเลหนุนท้าให้น้้าที่ใช้รดกล้วยไม้มีค่าความเค็มเพิ่มขึ้นส่งผลให้กล้วยไม้แสดงอาการผิดปกติ
                       เนื่องจากการขาดน้้า เช่น ใบเหลือง รากไหม้และต้นเหี่ยว เป็นต้น (เทคโนโลยีชาวบ้าน, 2563)

                       นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่สวนผักและสวนผลไม้อื่น ๆ ในเขตอ้าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม และ

                       อ้าเภอด้าเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีที่ได้รับผลกระทบเดียวกัน โดยต้นปี พ.ศ. 2563 คาดว่ามีพื้นที่
                       สวนไม้ผลที่ได้รับผลกระทบจากน้้าทะเลหนุนกว่า 18,000 ไร่ (ส้านักข่าวกรมประชาสัมพันธ์, 2563)

                              - น้้าทะเลหนุนกับการผลิตน้้าประปา น้้าประปาที่ใช้โดยทั่วไปในปัจจุบันผลิตจากน้้าดิบจาก

                       แหล่งน้้าต่าง ๆ ภายใต้ข้อก้าหนดส้าคัญคือ น้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปาต้องมีค่าความเค็มไม่เกิน 0.50
                       กรัมต่อลิตร แต่จากสถานการณ์น้้าทะเลหนุนสูงท้าให้น้้าเค็มรุกเข้ามาส่งผลต่อคุณภาพน้้าดิบของ

                       แหล่งน้้าที่ใช้ผลิตน้้าประปา ดังนั้น ในช่วงต้นเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2563 ที่เป็นช่วงน้้าทะเลหนุนสูง

                       การประปาส่วนภูมิภาคจึงได้รายงานว่ามีสาขาของการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) จ้านวน 8 แห่ง
                       ได้แก่ สาขาบางปะกง บางคล้า ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี ธัญบุรี ปากพนัง ระโนด และสายบุรี ที่อยู่

                       ระหว่างการเฝ้าระวังค่าความเค็มจากน้้าทะเลหนุนซึ่งมีผลกระทบต่อการผลิตและคุณภาพน้้าประปา

                       (การประปาส่วนภูมิภาค, 2563)
                              ทั้งนี้ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้้าเค็มหรือความเค็มอันเป็นผลสืบเนื่องจากน้้าทะเลหนุน

                       กรมชลประทาน (2557) จึงมีมาตรการควบคุม ได้แก่ (1) ผลักดันการรุกล้้าของน้้าเค็ม ด้วยการระบาย

                       น้้าจืดจากแหล่งต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน เช่น ปล่อยน้้าจากเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์สู่แม่น้้าเจ้าพระยา หรือผัน
                       น้้าจากแม่น้้าแม่กลองลงสู่แม่น้้าท่าจีนและแม่น้้าเจ้าพระยา (2) เจือจางค่าความเค็มในแม่น้้า

                       เจ้าพระยา ด้วยการผันน้้าจากแม่น้้าแม่กลองและแม่น้้าท่าจีนสู่แม่น้้าเจ้าพระยา และ (3) ควบคุมการ

                       เปิด-ปิด ประตูน้้าคลองลัดโพธิ์อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ให้สัมพันธ์กับการขึ้น-ลงของระดับน้้าใน
                       แม่น้้าเจ้าพระยาที่ได้รับอิทธิพลจากน้้าทะเลหนุน โดยในช่วงที่น้้าทะเลหนุนสูงจะท้าการปิดประตู

                       ระบายน้้าเพื่อชะลอการไหลของน้้าทะเล โดยการเปิด-ปิดบานประตูระบายน้้าต้องสัมพันธ์กับระดับน้้า

                       ที่ขึ้น-ลงในแม่น้้าเจ้าพระยา

                       4.3 ตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการทรัพยากรน  าด้วยแนวทางสันติวิธีตามหลัก

                       สิทธิมนุษยชน

                              แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) หมายถึง วิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ท้าให้องค์การ

                       ประสบความส้าเร็จหรือน้าไปสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย โดยมีหลักฐานของความส้าเร็จปรากฏ
                       ชัดเจน และมีการสรุปวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรู้และประสบการณ์ที่ได้บันทึก
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88