Page 76 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 76

59



                       ตารางที่ 4.6  ปริมาณน้้าในเขื่อนต่าง ๆ ของประเทศไทย

                                                  ความจุที่ระดับน  า     ปริมาตรน  าในเขื่อน (ล้าน ลบ.ม.)
                                ภูมิภาค
                                                                            1/
                                                                                         2/
                                                                                                      3/
                                                 เก็บกัก (ล้าน ลบ.ม.)  พ.ศ. 2560   พ.ศ. 2561    พ.ศ. 2562
                        ภาคเหนือ                       24,825         21,069      18,468        10,141
                        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ          8,368          7,712        4,593        3,401
                        ภาคกลาง                        1,419          1,412         736          154

                        ภาคตะวันตก                     26,605         22,553      23,632        21,087
                        ภาคตะวันออก                    1,515          1,313        1,311         525
                        ภาคใต้                         8,194          5,817        6,718        5,301

                                 รวม                   70,926         59,875      55,459       40,608

                                                                              2/
                            1/
                       ที่มา:  สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้้า (องค์การมหาชน) (2561),  สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้้า
                                            3/
                       (องค์การมหาชน) (2562),  สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้้า (องค์การมหาชน) (2563)

                              4.2.2 สภาพปัญหาทรัพยากรน  า

                              1) ปัญหาการขาดแคลนน  า

                              ในรอบ 40 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้งหลายครั้ง คือ ปี พ.ศ. 2510, 2511,
                       2515, 2520, 2522, 2529, 2530, 2533, 2537, 2542, 2545 และ 2548 ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อ

                       รายได้ของเกษตรกรและความเสียหายทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมากทั้งด้านเกษตรกรรมและ

                       อุตสาหกรรมที่ต้องอาศัยผลผลิตทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบ (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)
                       ปัญหาการขาดแคลนน้้า (ภัยแล้ง) ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2530 ที่ผ่านมา ได้สร้างความเดือดร้อนและความ

                       ทุกข์ยากให้แก่ประชากรชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่ง ณ ขณะนั้น

                       ถือเป็นประชากร 1 ใน 3 ของประเทศ แต่ด้วยพระเมตตาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
                       ที่ทรงต้องการบรรเทาปัดเป่าความทุกข์ยากเหล่านั้นจึงพระราชทานโครงการน้้าพระทัยจากในหลวง

                       หรือ “โครงการอีสานเขียว” ขึ้นในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2530 โดยมีแผนการด้าเนินงานที่

                       ประกอบด้วยสาระส้าคัญคือการพัฒนาแหล่งน้้าและการพัฒนาป่าไม้ (อดุลย์ เชี่ยวชาญ, 2531) เพื่อให้
                       ประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถด้าเนินชีวิต ท้าอยู่ ท้ากินในถิ่นฐานของตนเองได้ ถือเป็น

                       จุดเริ่มต้นการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือกระทั่งปัจจุบัน
                              อย่างไรก็ตาม ความแปรปรวนของสภาพอากาศส่งผลให้ประเทศไทยยังคงประสบภาวการณ์

                       ขาดแคลนน้้าอย่างต่อเนื่องโดยในปี พ.ศ. 2548 เกิดภาวะภัยแล้งที่รุนแรงมาก มีจังหวัดที่ประสบภัย

                       แล้งถึง 71 จังหวัด มีมูลค่าความเสียหายสูงถึง 7.5 พันล้านบาท จากนั้นในปี พ.ศ. 2552  2553 และ
                       2554 มีจังหวัดที่ประสบภัยแล้ง 62  64 และ 54 จังหวัด ตามล้าดับ (กรมทรัพยากรน้้า, 2555)
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81