Page 29 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 29
17
การไกล่เกลี่ยโดยคนกลาง การไต่สวน
รูปแบบ
การเจรจาต่อรอง การ การไม่ให้ความร่วมมือ
จัดการ
การใช้อนุญาโตตุลาการ ความ อารยะขัดขืน
ขัดแย้ง
กระบวนการนิติบัญญัติ ตาม การร่วมมือกันหรือการแก้ปัญหา
การเจรจาไกล่เกลี่ยข้ามวัฒนธรรม แนวทาง การมีส่วนร่วม
สันติวิธี
การสานเสวนา การลงมติหรือการลงคะแนนเสียง
แผนภูมิที่ 2.1 ตัวอย่างรูปแบบการจัดการความขัดแย้งตามแนวทางสันติวิธี
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน า
“น้้า” เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของโลก สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องอาศัยน้้าในการด้ารงชีวิต น้้าเป็น
ส่วนประกอบที่ส้าคัญ โดยมีจ้านวนมากถึง 3 ใน 4 ส่วนของพื้นโลก อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าจะมีน้้าจ้านวน
มหาศาลแต่การเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจท้าให้มีความต้องการใช้น้้ามากขึ้น
ประกอบกับมีการบุกรุกท้าลายป่าต้นน้้า ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศ
เกิดปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้งและรุนแรงมากขึ้น ทั้งปัญหาอุทกภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม
และการชะล้างพังทลายของดิน รวมถึงการเพิ่มขึ้นของชุมชนเมือง และการขยายตัวของอุตสาหกรรม
ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านคุณภาพน้้าทวีความรุนแรงมากขึ้น (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)
ทรัพยากรน้้า หมายถึง น้้าบนผิวดิน น้้าใต้ดิน และน้้าในทะเล อาณาเขตที่อยู่ในแหล่งน้้า
ธรรมชาติหรือที่มนุษย์สร้างขึ้น รวมทั้งแหล่งน้้าระหว่างประเทศที่ประเทศไทยอาจน้ามาใช้ประโยชน์ได้
(กรมทรัพยากรน้้า, 2550) ทั้งนี้ น้้าเป็นทรัพยากรที่สามารถเกิดหมุนเวียน เป็นแหล่งก้าเนิดชีวิตของ
สัตว์และพืช และยังมีความจ้าเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความส้าคัญอย่างยิ่งใน
การพัฒนาประเทศ (สัจจา บรรจงศิริ และคณะ, 2559)
2.3.1 ปัญหาทรัพยากรน าในประเทศไทย: ถึงแม้ว่าทรัพยากรน้้าจะมีความส้าคัญต่อการ
พัฒนาประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมแต่กลับพบว่า ประเทศไทยยัง
ประสบปัญหาจากปริมาณน้้าฝนที่ไม่เพียงพอหรือมากเกินไปซึ่งมีสาเหตุจากการบุกรุกพื้นที่ป่าต้นน้้า
และแหล่งน้้าสาธารณะ การเพิ่มขึ้นของประชากรและขยายตัวของชุมชนเมือง การพัฒนาพื้นที่
เศรษฐกิจ การขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวพิเศษ การปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมกับสภาพดิน