Page 32 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 32

20



                       และเสื่อมโทรมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สาเหตุส้าคัญของปัญหาคุณภาพน้้าเสื่อมโทรมมาจากการระบายน้้า
                       เสียจากชุมชน การชะหน้าดินที่มีสารตกค้างจากการเกษตร และการปศุสัตว์ โดยในปี พ.ศ. 2557

                       มีปริมาณน้้าเสียจากชุมชนเกิดขึ้น 10.3 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ขณะที่ระบบบ้าบัดน้้าเสียรองรับน้้า

                       เสียที่เกิดขึ้นได้เพียงร้อยละ 31 พื้นที่ที่มีน้้าเสียชุมชนเกิดขึ้นมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร โดยมีน้้า
                       เสียประมาณ 2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในขณะที่ระบบบ้าบัดน้้าเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

                       สามารถบ้าบัดน้้าเสียได้ ร้อยละ 38 ของปริมาณน้้าเสียที่เกิดขึ้น (ภาพที่ 2.3) ในส่วนของปัญหาการรุกล้้า

                       ของน้้าเค็ม เกิดขึ้นในตอนล่างของแม่น้้าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง และแม่กลอง ท้าให้เกิดผลกระทบ
                       ต่อการเพาะปลูกพืช การประปา การประมง การอุตสาหกรรม ตลอดจนการอุปโภค-บริโภคน้้าของ

                       ประชาชนที่อยู่อาศัยริมฝั่งแม่น้้า การจัดสรรน้้าเพื่อผลักดันน้้าเค็มเป็นการจัดสรรน้้าจากแหล่งเก็บน้้าใน

                       พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้้า เช่น จากเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนป่าสัก เขื่อนขุนด่านปราการชล รวมถึง
                       เขื่อนศรีนครินทร์และเขื่อนวชิราลงกรณ์ในฤดูแล้งปีละมากกว่า 2,800 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อควบคุม

                       ความเค็มของน้้า ณ จุดควบคุม ไม่ให้เกินมาตรฐานของการเกษตรและการประปา









































                                     ภาพที่ 2.3 คุณภาพน้้าในแหล่งน้้าส้าคัญทั่วประเทศไทย ปี 2557

                                             ที่มา: ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ (2562)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37