Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 34

22



                       พ.ศ. 2560 มาตรา 65 ดังนั้น จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้้า
                       เพื่อด้าเนินการปรับปรุงเป็นแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

                       ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงแผนพัฒนาอื่น ๆ

                       ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ที่มียุทธศาสตร์ที่
                       เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า คือ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                       เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้วยเป้าหมาย ดังนี้ (1) รักษา และฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ (2) สร้าง

                       ความมั่นคงด้านน้้า และบริหารจัดการทรัพยากรน้้าทั้งน้้าผิวดินและน้้าใต้ดิน ให้มีประสิทธิภาพ
                       (3) สร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ลดมลพิษ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและระบบ

                       นิเวศ (4) เพิ่มประสิทธิภาพการลดก๊าซเรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการ

                       เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ (5) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากภัย
                       พิบัติ ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภัยลดลง (ส้านักงานคณะกรรมการ

                       พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559) และได้จัดท้าทิศทางการพัฒนาภาคในระยะ

                       แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เพื่อเป็นเครื่องมือในการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การก้าหนดทิศทางการ
                       พัฒนาเชิงพื้นที่ตามศักยภาพภูมิสังคมของแต่ละภาค ทั้ง 6 ภาค ซึ่งในด้านการบริหารจัดการ

                       ทรัพยากรน้้าได้ก้าหนดทิศทางการพัฒนาด้านน้้าในแต่ละภาคไว้ให้สอดคล้องและสนับสนุนกัน

                       (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)
                              ทั้งนี้ ในส่วนของแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปีต่อภาคส่วนของชุมชน

                       พบว่า แผนแม่บทฯ น้้าได้ให้ความส้าคัญต่อชุมชนในการมีส่วนร่วมต่อการจัดตั้งองค์กรผู้ใช้น้้าและ

                       ส่งเสริมการจัดการน้้าชุมชน (ด้านที่ 6 การบริหารจัดการ) โดยก้าหนดเป้าหมายให้ชุมชนสามารถ
                       บริหารจัดการทรัพยากรน้้าในพื้นที่ได้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเกิด

                       เครือข่ายการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าชุมชน ตามแนวพระราชด้าริ ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดี

                       เกิดความยั่งยืนในทุกมิติ (6,000 หมู่บ้าน) นอกจากนี้ แผนแม่บทฯ น้้า ยังให้ความส้าคัญต่อการ
                       อนุรักษ์พื้นที่ป่าต้นน้้าผ่านแผนแม่บทฯ น้้า ด้านที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้้าที่เสื่อมโทรมและ

                       ป้องกันการพังทลายของดิน


                            2.3.3 การจัดการทรัพยากรน  ากับเขตพื นที่ต้นน  า: เนื่องจากประเทศไทยยังประสบปัญหา

                       เกี่ยวกับทรัพยากรน้้าดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ดังนั้น เพื่อลดหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว การน้า

                       “กระบวนการบริหารจัดการ” (management) เพื่อก้าหนดทิศทางการใช้ทรัพยากรน้้าทั้งหลายของ
                       ประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจึงอาจเป็นทางออกส้าหรับปัญหาดังกล่าว

                            กระบวนการบริหารจัดการ (management process) หมายถึง กระบวนการเพื่อให้บรรลุ
                       จุดมุ่งหมายขององค์กรซึ่งกระบวนการบริหารจัดการนี้สามารถแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องกันได้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39