Page 174 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 174
อย่างไรก็ดี กสม. ยังคงให้ความร่วมมือในการ สมาชิกเพิ่มคือ ติมอร์-เลสเต (๒๕๕๓) และเมียนมา
เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมประจ�าปี APF และการ (๒๕๕๕) ซึ่ง SEANF เป็นกรอบความร่วมมือที่สถาบัน
ประสานความร่วมมือกับ APF อย่างแข็งขัน รวมถึง สมาชิกมีสถานะที่เท่าเทียมกัน มุ่งให้เป็นเวทีในการ
การขอรับการสนับสนุนการท�างานของ กสม. ในการพัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การท�างาน และพัฒนา
ศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง โดย กสม. ได้เคยร่วม ความร่วมมือในด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
โครงการการประเมินศักยภาพตนเอง (Capacity ในมิติต่าง ๆ ที่เป็นประเด็นที่สนใจร่วมกันในภูมิภาค
Assessment) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง APF และ
โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations แผนยุทธศาสตร์ของ SEANF ฉบับแรก เริ่มขึ้นในปี
Development Programme: UNDP) และส�านักงาน พ.ศ. ๒๕๕๕ และปัจจุบัน อยู่ในระยะของฉบับที่ ๒
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) โดยมีประเด็นตามแผนยุทธศาสตร์
(Office of the High Commissioner for Human ๖ เรื่อง ได้แก่ (๑) การเคลื่อนย้ายของบุคคล (Movement
Rights: OHCHR) ที่จะประเมินช่องว่างระหว่างศักยภาพ of people) (๒) ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (Business
ของสถาบันกับมาตรฐานที่คาดหวัง เพื่อเป็นพื้นฐาน and human rights) (๓) สิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชน
ในการร่วมกันพัฒนาองค์กรให้มีความเข้มแข็งตาม (Environment and human rights) (๔) การป้องกัน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
แผนงานที่ก�าหนดร่วมกัน อย่างไรก็ดี การด�าเนินโครงการ และการต่อต้านความรุนแรงสุดขั้ว (Preventing and
ดังกล่าวได้ผ่านมาเป็นเวลานานและขาดความต่อเนื่อง countering violent extremism) (๕) สิทธิของกลุ่ม
ดังนั้น หากจะมีด�าริที่จะเข้าร่วมโครงการใหม่ก็น่าจะ เปราะบาง (Rights of vulnerable groups) และ
เป็นการช่วยส่งเสริมการพัฒนาองค์กรได้อย่างเป็นระบบ (๖) เป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
รวมถึงการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการปรึกษาหารือ Development Goals: SDGs)
ระดับสูง (High-level Dialogue) ระหว่างผู้ที่จะเข้ามา
ด�ารงต�าแหน่งในสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับผู้ที่ กลไกการด�าเนินงานของ SEANF ประกอบด้วย
ด�ารงต�าแหน่งอยู่ในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีแนวปฏิบัติที่ดี การประชุม ๒ ระดับ ได้แก่ การประชุมประจ�าปี (Annual
รวมถึงผู้เชี่ยวชาญของ APF เพื่อเป็นการเตรียม Meeting) และการประชุมระดับเจ้าหน้าที่ (Technical
ความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ อันอาจเป็นประโยชน์แก่ Working Group)
กสม. ชุดใหม่ที่ก�าลังจะเข้ามาปฏิบัติหน้าที่
(๑) การประชุมประจ�าปี (Annual Meeting)
๓) กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบัน จัดขึ้นปีละ ๑ ครั้ง โดยมีประธานสถาบันสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในระดับภูมิภาค แห่งชาติที่เป็นสมาชิก SEANF เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia ในการเข้าร่วมการประชุม เพื่อหารือและตัดสินใจร่วมกัน
National Human Rights Institutions ในประเด็นต่าง ๆ ของ SEANF โดยมีประธาน SEANF
Forum: SEANF) ซึ่งแต่ละสถาบันจะหมุนเวียนกันปฏิบัติหน้าที่ ท�าหน้าที่
๓.๑) ความสำาคัญของกลไก SEANF เจ้าภาพและประธานการประชุม
SEANF เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างสถาบัน
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (๒) การประชุมระดับเจ้าหน้าที่ (Technical
ซึ่งทั้งในรูปแบบของคณะกรรมการและผู้ตรวจการ Working Group) จัดขึ้นปีละ ๒ ครั้ง เพื่อหารือร่วมกัน
จัดตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ ปัจจุบัน มีสมาชิก ในประเด็นต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากการประชุม
ประกอบด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจาก ประจ�าปี และการเตรียมการก่อนที่จะน�าเข้าสู่การประชุม
๖ ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย ประจ�าปี
โดย ๔ ประเทศแรกเป็นสถาบันเริ่มก่อตั้ง ต่อมา ได้มี
172