Page 172 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 172
(Recommendations by NHRIs) ซึ่ง SCA ได้กล่าวถึง (๔) แห่ง พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ และการเพิ่มเติมหน้าที่
ข้อกังวลที่ผ่านมาเกี่ยวกับประสิทธิผลของ กสม. ในการ และอ�านาจในการไกล่เกลี่ยใน พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ แล้ว
จัดการกับประเด็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนภายในระยะ รวมถึงการออกระเบียบรองรับเพื่อประกันความเป็นอิสระ
เวลาที่เหมาะสม โดย SCA เสนอแนะให้ กสม. ขยาย ของ กสม. ให้มีความชัดเจนมากขึ้นในระหว่างที่รอ
ขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้าน การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ กสม. มีก�าหนดที่จะส่งเอกสาร
สิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การติดตามเฝ้าระวัง ให้แก่ SCA เพื่อขอเข้ารับการประเมินที่เลื่อนมา ๑๘ เดือน
(monitoring) เรื่องการเคารพสิทธิในการชุมนุมโดยสงบ ในเดือนตุลาคม ๒๕๖๔ จึงจ�าเป็นที่จะต้องด�าเนินการแก้ไข
และการคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนในบริบท ข้อห่วงกังวลในทุกด้านโดยไม่ล่าช้า
ดังกล่าว มีการใช้อ�านาจหน้าที่อย่างเต็มที่ รวมถึงการ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ออกข้อเสนอแนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานสิทธิมนุษยชน การจะด�าเนินการยกเลิกบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
ระหว่างประเทศ แถลงการณ์และรายงานทั้งหมดควร ถือเป็นข้อท้าทายที่ส�าคัญ เนื่องจากการด�าเนินการ
เปิดเผยต่อสาธารณะ เนื่องจากจะเป็นการสนับสนุนความ ดังกล่าวอยู่นอกเหนือขอบเขตหน้าที่และอ�านาจของ กสม.
น่าเชื่อถือและความเป็นอิสระของ กสม. รวมทั้งส่งเสริม จ�าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
การเข้าถึงของประชาชาชนทุกคนภายในประเทศ ตลอดจน ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหาร รวมถึงการ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ด�าเนินการติดตามผลอย่างเข้มงวดเพื่อให้แน่ใจว่า สนับสนุนจากภาคส่วนต่าง ๆ ในการร่วมกันผลักดัน
หน่วยงานของรัฐได้รับทราบและด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ ให้มีการแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายที่ท�าให้สังคมเข้าใจ
ของ กสม. (๔) อ�านาจหน้าที่กึ่งตุลาการ (Quasi-judicial คลาดเคลื่อนในความเป็นอิสระของ กสม. ให้ส�าเร็จโดยเร็ว
functions) ของ กสม. ในการไกล่เกลี่ย ซึ่ง SCA
มีความเห็นว่า หาก กสม. สามารถแสวงหาข้อยุติที่เป็น ๒) กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบัน
มิตรและเป็นความลับผ่านกระบวนการแก้ไขทางเลือกอื่น สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชีย-
ซึ่งรวมถึงอ�านาจในการแสวงหาข้อยุติของข้อพิพาทโดย แปซิฟิก (Asia Pacific Forum of National
สมานฉันท์ผ่านกระบวนการไกล่เกลี่ย จะช่วยให้ กสม. Human Rights Institutions: APF)
ได้ช่วยเหลือเยียวยาผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนได้รวดเร็ว ๒.๑) ความสำาคัญของกลไก APF
มากขึ้น ซึ่งหมายถึงการเพิ่มประสิทธิผลในการด�าเนิน กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน
งานของ กสม. SCA จึงเสนอแนะให้ กสม. ผลักดันให้มี แห่งชาติในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (Asia Pacific Forum
การขยายหน้าที่และอ�านาจในการจัดการเรื่องร้องเรียน of National Human Rights Institutions: APF)
ให้รวมถึงอ�านาจในการแสวงหาข้อยุติของข้อพิพาท จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ๒๕๓๙ เป็นกรอบความร่วมมือที่มี
โดยสมานฉันท์ผ่านกระบวนการไกล่เกลี่ย วัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างความร่วมมือและความ
เข้มแข็งระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาค
๑.๓) ประเด็นสำาคัญที่ต้องดำาเนินการต่อเนื่อง เอเชีย-แปซิฟิก ผ่านกิจกรรมการอบรม การสัมมนา
ข้อท้าทายและข้อเสนอแนะ การดูงาน การหารือในระดับสูง การแลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่
โดยที่การกลับคืนสู่สถานะ ‘A’ มีความส�าคัญต่อ และการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งการมีท่าทีร่วมกันในเวที
ความน่าเชื่อถือและการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ทั้งภายใน การประชุมระหว่างประเทศที่ส�าคัญ ปัจจุบันมีสมาชิก
ประเทศและระหว่างประเทศ ดังนั้น การด�าเนินการเพื่อ ๒๕ สถาบัน ประกอบด้วยสมาชิกสามัญ (Full Members)
แก้ไขความห่วงกังวลของ SCA ทั้ง ๔ ประการข้างต้น จ�านวน ๑๖ สถาบัน และสมาชิกสมทบ (Associate
จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องด�าเนินการต่อ โดยในปัจจุบัน Members) จ�านวน ๙ สถาบัน โดยจ�าแนกตามสถานะ
กสม. ได้ด�าเนินการประสานกับฝ่ายนิติบัญญัติและ ที่ได้รับการประเมินจาก GANHRI ทั้งนี้ APFเป็นองค์กร
ฝ่ายบริหารในระดับต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนให้มีการยกเลิก ตัวแทนระดับภูมิภาคที่เข้าร่วมใน GANHRI ได้รับเงิน
บทบัญญัติมาตรา ๒๔๗ (๔) ของรัฐธรรมนูญแห่ง ทุนสนับสนุนกิจกรรมในรูปแบบของค่าบ�ารุงจากสถาบัน
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และมาตรา ๒๖ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่เป็นสมาชิก ส�านักงานข้าหลวงใหญ่
170