Page 178 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 178

สิทธิมนุษยชนแห่งชาติและถูกคาดหวังจากสหประชาชาติ     ทั้งนี้ กสม. อยู่ระหว่างการจัดท�ารายงานคู่ขนาน
            โดยคณะกรรมการประจ�าสนธิสัญญาฯ จะพิจารณาให้ การปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศ จ�านวน ๒ ฉบับ
            ความส�าคัญกับข้อมูลจากสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ   ได้แก่ รายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามอนุสัญญาว่าด้วย
            ประกอบกับข้อมูลที่ได้รับจากองค์กรภาคประชาสังคมอื่น ๆ   สิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child:
            ประกอบกับข้อมูลที่เสนอโดยภาครัฐ ก่อนที่จะสรุปความเห็น  CRC) และรายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามกติการะหว่าง
            และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้รัฐภาคีน�าไปด�าเนินการปรับปรุง  ประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
            ภายในประเทศต่อไป                                 (International Covenant on Economic, Social and

                                                             Cultural Rights: ICESCR)
            ๕.๒) สรุปผลการดำาเนินงานและผลสำาเร็จที่สำาคัญ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
                กสม. ชุดที่ ๓ ได้ท�าหน้าที่เป็นกลไกในการติดตาม  ๕.๓)  ประเด็นสำาคัญที่ต้องดำาเนินการต่อเนื่อง
            การปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน  ข้อท้าทายและข้อเสนอแนะ
            ด้วยการจัดท�ารายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามพันธกรณี  (๑) บทบาทในการจัดท�ารายงานคู่ขนาน
            ระหว่างประเทศเสนอต่อคณะกรรมการประจ�าสนธิสัญญา       โดยที่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติถูกคาดหวัง
            เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาติดตามการ  จากกลไกของสหประชาชาติให้มีบทบาทหน้าที่ดังกล่าว
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ด�าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศ จ�านวน ๔ ฉบับ  ดังนั้น การจัดท�ารายงานคู่ขนานเพื่อเสนอต่อกลไก
            ได้แก่                                           คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญประจ�าสนธิสัญญาจึงมี

                                                             ความส�าคัญอย่างยิ่งและควรด�าเนินการทุกครั้งที่รัฐบาล
                (๑) รายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามกติการะหว่าง เสนอรายงานของประเทศ ซึ่งการจัดท�ารายงานดังกล่าว
            ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง   ควรได้มีการรับฟังและเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
            (International Covenant on Civil and Political  จากทุกฝ่าย
            Rights: ICCPR) เมื่อปี ๒๕๕๙
                                                             (๒) บทบาทในการติดตามการปฏิบัติตามการด�าเนินการ
                (๒)  รายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามอนุสัญญา  ตามข้อเสนอแนะที่ประเทศไทยได้รับจากคณะกรรมการ

            ว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ  ประจ�าสนธิสัญญา (Treaty bodies)
            (Convention on the Elimination of All Forms         นอกเหนือจากบทบาทในการจัดท�ารายงานคู่ขนาน
            of Discrimination Against Women: CEDAW)   แล้ว สหประชาชาติคาดหวังให้สถาบันสิทธิมนุษยชน
            เมื่อปี ๒๕๖๐                                     แห่งชาติมีบทบาทส�าคัญในการติดตามการปฏิบัติตาม
                                                             ข้อเสนอแนะที่รัฐภาคีได้รับจากคณะกรรมการประจ�า
                (๓)  รายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามอนุสัญญา  สนธิสัญญาชุดต่าง  ๆ  ในรูปของข้อสังเกตเชิงสรุป
            ว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ  (Concluding Observations) ดังนั้น การติดตามผล
            (Convention on the Elimination of All Forms of  การด�าเนินงานหลังจากที่กลไกของสหประชาชาติ
            Racial Discrimination: CERD) เมื่อปี ๒๕๖๓        มีข้อเสนอแนะยังถือเป็นภารกิจส�าคัญของ กสม. ที่ควร

                                                             ได้มีการด�าเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้
                (๔) รายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้าน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในระดับประเทศ
            การทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย  เป็นไปตามพันธกรณีของประเทศ
            ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (Convention Against
            Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading
            Treatment or Punishment: CAT) เมื่อปี ๒๕๖๓










       176
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183