Page 175 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 175
นอกจากนี้ สมาชิก SEANF แต่ละสถาบันได้จัดการ ความรับผิดชอบนอกอาณาเขต” และกับสมาคมเพื่อการ
ประชุมอื่น ๆ ระหว่างปี โดยเชิญสมาชิก SEANF เข้าร่วม ป้องกันการทรมาน (Association for the Prevention of 1
ด้วย เช่น การประชุมพิเศษ การประชุมหารือ การประชุม Torture: APT) ในการพัฒนาแนวปฏิบัติในระดับภูมิภาค
เชิงปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนประเด็นหลักซึ่งจะด�าเนินการ ของ SEANF ว่าด้วยการป้องกันการทรมานขึ้น 2
ของ SEANF ในแต่ละปี และการกระชับความร่วมมือ
ระหว่างกัน (๓) ในปี ๒๕๖๒ กสม. ยังได้มีการประชุมหารือร่วมกับ 3
ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียน
๓.๒) สรุปผลการดำาเนินงานและผลสำาเร็จที่สำาคัญ ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental
(๑) ในช่วงของ กสม. ชุดที่ ๓ ได้ร่วมพัฒนาและ Commission on Human Rights: AICHR) และ 4
กระชับความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครอง
ในกรอบ SEANF ให้มีความเข้มแข็งและเกิดผลที่เป็น สิทธิสตรีและสิทธิเด็ก (ASEAN Commission on the 5
รูปธรรมมากยิ่งขึ้น สมาชิก SEANF ได้รับรอง “ข้อบังคับ Promotion and Protection of the Rights of Women
การด�าเนินงาน” (Rules of Procedure) เพื่อเป็นเอกสาร and Children: ACWC) เพื่อร่วมกันผลักดันการแก้ไข
พื้นฐานในการก�าหนดแนวทางความร่วมมือและก�าลัง ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่ข้ามพรมแดนในภูมิภาค เช่น
อยู่ในระหว่างการจัดตั้งส�านักงานเลขาธิการถาวร ประเด็นมลพิษทางอากาศและฝุ่นควันขนาดเล็ก
ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอินโดนีเซีย ที่ข้ามพรมแดน (Haze) และประเด็นปัญหาการค้ามนุษย์
รับเป็นเจ้าภาพและก�าลังอยู่ในระหว่างการด�าเนินการจัดตั้ง โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็ก ซึ่งต่อมาได้น�ามาสู่การประชุม
ร่วมกันแบบทางไกลอย่างไม่เป็นทางการเป็นครั้งแรก
(๒) กสม. ได้ปฏิบัติหน้าที่ประธาน SEANF ในปี ระหว่าง SEANF และ AICHR ในระหว่างการประชุม
พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งตรงกับการครบรอบ ๗๐ ปี ของการ ประจ�าปีของ SEANF ครั้งที่ ๑๗ แบบทางไกล ในเดือน
รับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ซึ่งในการประชุมดังกล่าว กสม.
Declaration on Human Rights: UDHR) ท�าให้ ได้น�าเสนอ เรื่อง “การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
กสม. ได้เป็นผู้แทนของ SEANF ในการจัดกิจกรรม ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนและการสนับสนุนการจัดท�า
พิเศษร่วมกับส�านักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชน แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
แห่งสหประชาชาติ (OHCHR) ส�านักงานประจ�าภูมิภาค ในประเทศไทย” เพื่อน�าเสนอความส�าเร็จและตัวอย่าง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งการจัดการอภิปราย การปฏิบัติที่ดีของ กสม. ด้วย
หัวข้อ “สิทธิมนุษยชนในฐานะที่เป็นปัจจัยเพื่อการบรรลุ ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
เป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” (Human Rights as ๓.๓) ประเด็นสำาคัญที่ต้องดำาเนินการต่อเนื่อง
an Enabling Factor to Achieving SDGs) ตลอดจน ข้อท้าทายและข้อเสนอแนะ
การให้การรับรองแถลงการณ์ของ SEANF ว่าด้วย (๑) ในช่วงการด�าเนินการของ กสม. อาจกล่าวได้ว่า
สิทธิมนุษยชนและเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนากรอบความร่วมมือของ SEANF มีความก้าวหน้า
(SEANF Statement on Human Rights and SDGs) และเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น โดยมีกิจกรรมส�าคัญหลาย
ประการและยังต้องด�าเนินการต่อเนื่องหลายประการ
นอกจากนี้ ในช่วงระหว่างการด�ารงต�าแหน่งประธาน อาทิ (๑) การจัดตั้งส�านักงานเลขาธิการถาวร (SEANF
SEANF ได้มีการรับรองแผนปฏิบัติการของ SEANF Permanent Secretariat) ซึ่งในการประชุมประจ�าปี
(SEANF Action Plan) ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ ฉบับที่ ๒ ของ SEANF ครั้งที่ ๑๗ แบบทางไกล ระหว่างวันที่
รวมทั้งการจัดกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการร่วมกับ ๒๔-๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมได้เห็นชอบ
สถาบัน RWI (Raoul Wallenberg Institute of ให้มีการลงนามร่างข้อบังคับการด�าเนินการ (Rules of
Human Rights and Humanitarian Law) เรื่อง Procedure: RoP) ของ SEANF ที่ได้ให้ความเห็นชอบ
“การละเมิดสิทธิมนุษยชนและผลกระทบข้ามพรมแดน: ร่วมกันเป็นการชั่วคราว (Provisionally Adopt) ไว้แล้ว
การแก้ไขปัญหาช่องว่างของการคุ้มครองโดยผ่านกลไก ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ ซึ่งได้ก�าหนดกรอบการบริหารจัดการ
173