Page 170 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 170
และการประชุมประจ�าปี (Annual Conference) นอกจากนี้ สถานะ (Sub-Committee on Accreditation: SCA)
อาจมีการประชุมเครือข่ายระดับภูมิภาค และกิจกรรม ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการพิจารณาให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ
ข้างเคียง (side-events) รวมถึงการจัดเวทีประชุมร่วมกับ การประเมินสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
องค์กรพัฒนาเอกชนควบคู่ไปกับการประชุมประจ�าปี ที่เป็นสมาชิกของ GANHRI โดยพิจารณาถึงความ
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน สอดคล้องตามหลักการปารีส (Paris Principles)
แห่งชาติกับภาคประชาสังคมด้วย ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ชี้แนะขั้นต�่าที่ได้รับการรับรองโดย
สหประชาชาติให้ใช้เป็นมาตรฐานการประเมินในมิติ
(๒) การประชุมนานาชาติ (International ของการจัดตั้ง การด�าเนินงาน ความเป็นอิสระ ขอบเขต
Conference) จะจัดขึ้นทุก ๓ ปี ซึ่งจัดร่วมกันระหว่าง อ�านาจหน้าที่และองค์ประกอบของสถาบันสิทธิมนุษยชน
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
GANHRI และ OHCHR ร่วมกับสมาชิก GANHRI โดย แห่งชาติ โดยผลการพิจารณาประเมินสถานะ แบ่งออกเป็น
หมุนเวียนกันจัดตามภูมิภาคต่าง ๆ ได้แก่ เอเชีย-แปซิฟิก สถานะ ‘A’ หมายถึง สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อเมริกา แอฟริกา และยุโรป มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ที่มีความสอดคล้องกับหลักการปารีสโดยสมบูรณ์ และ
และเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน สถานะ ‘B’ หมายถึง สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
แห่งชาติ เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวความคิดและ ที่มีความสอดคล้องกับหลักการปารีสเพียงบางส่วน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ประสบการณ์ระหว่างกัน และร่วมกันจัดท�าแนวปฏิบัติ/
แนวทางในการน�าหลักการปารีสมาปรับใช้ในเหตุการณ์จริง การได้สถานะ ‘A’ จึงมีผลต่อความน่าเชื่อถือและน�้าหนัก
รวมทั้งเพื่อหารือเกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมตลอดจน ในการปฏิบัติหน้าที่ เช่น แถลงการณ์และข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ติดตามผลการด�าเนินงานในระดับประเทศ การประชุม ของ กสม. ต่อหน่วยงานในประเทศและต่อประชาคมระหว่าง
นานาชาติครั้งล่าสุด จัดขึ้นเมื่อปี ๒๐๑๘ (พ.ศ. ๒๕๖๑) ประเทศ โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีความเปราะบาง
ณ เมืองมาราเกช ราชอาณาจักรโมร็อกโก โดยที่ประชุม เช่น สถานการณ์การชุมนุมทางการเมือง เนื่องจากสถานะ
ได้ร่วมกันจัดท�าและลงนามในปฏิญญามาราเกช (Marrakesh ‘A’ แสดงถึงความเป็นอิสระตามหลักการปารีสอย่าง
Declaration) ว่าด้วยบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชน สมบูรณ์ ตลอดจนท�าให้ กสม. สามารถแสดงบทบาท
แห่งชาติในการขยายพื้นที่สาธารณะและการส่งเสริมและ และการมีส่วนร่วมในเวทีระหว่างประเทศ เช่น ในเวที
คุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่เน้นบทบาทของสตรี สหประชาชาติ กสม. สามารถเข้าร่วมการประชุมและ
กล่าวถ้อยแถลง (making statement) เพื่อแลกเปลี่ยน
(๓) การเข้ารับการประเมินสถานะภายใต้ GANHRI
(GANHRI Accreditation) เนื่องจากสถาบันสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติเป็นองค์กรที่แม้จะจัดตั้งขึ้นโดยรัฐแต่มีความ
เป็นอิสระจากรัฐบาล มีอ�านาจหน้าที่ในการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์
สิทธิมนุษยชนในประเทศ รวมถึงการทบทวนกฎหมาย
นโยบาย และแนวปฏิบัติ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
จึงได้รับการยอมรับโดยชุมชนระหว่างประเทศ ให้เป็น
กลไกส�าคัญในการเชื่อมประสานช่องว่างระหว่างการ
ปฏิบัติตามพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
ของรัฐกับการน�าหลักการสิทธิมนุษยชนสากลมาปรับใช้
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน
ภายในประเทศซึ่งการที่จะท�าหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างมี
ประสิทธิผล สถาบันสิทธิมนุษยชนจ�าเป็นจะต้องมี
มาตรฐานที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้
GANHRI จึงจัดตั้งกลไกเรียกว่า คณะอนุกรรมการประเมิน
168